กรอบแนวคิดการยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อการตั้งใจใช้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ต
คำสำคัญ:
การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ, คุณภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ, การตั้งใจใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบทคัดย่อ
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้บริหารในระบบอุตสาหกรรมของภาครัฐ จะนำมาซึ่งความรวดเร็วในการให้บริการ ลดต้นทุนการทำรายการของผู้บริหาร พัฒนาการจัดเก็บระบบสารสนเทศของอุตสาหกรรมได้อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับการชำระภาษีเงินได้นิติบุคคล อันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ภาครัฐควรให้ความสนใจและส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริหารหันมาให้ความสำคัญและใช้บริการชำระภาษีผ่านระบบออนไลน์ อันจะเป็นผลดีต่อการบริหารจัดการระบบการจัดเก็บภาษีของประเทศชาติเพื่อบรรลุเป้าหมายโดยรวมของประเทศชาติต่อไป บทความนี้ต้องการนำเสนอกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อการตั้งใจใช้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ต บทความนี้จะนำเสนอถึงกรอบแนวคิดด้านการยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อการตั้งใจใช้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งจากการศึกษาปัจจัยดังกล่าว พบว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่นักศึกษาวิจัยมีการนำมาศึกษากันอย่างแพร่หลาย ซึ่งในแต่ละบริบทที่มีการศึกษานั้นก็จะมีผลของการศึกษาที่แตกต่างกันไปตามกลุ่มตัวอย่างและบริบทของงานวิจัย อีกทั้งงานวิจัยยี้มุ่งศึกษาเพื่ออธิบายถึงปัจจัยที่สำคัญที่จะนำไปสู่การตั้งใจใช้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ต
References
กรมสรรพากร. (2540). ประวัติการจัดเก็บภาษีอากร. สืบค้น 13 เมษายน 2565. จาก https://www.rd.go.th/3453.html.
กรมสรรพากร. (2544). กรมสรรพากรยกระดับการให้บริการด้านไอที. สืบค้น 13 เมษายน 2565. จาก https://www.rd.go.th/1818.html.
กรมสรรพากร. (2563). ความรู้เรื่องภาษีที่นิติบุคคลควรทราบ. สืบค้น 13 เมษายน 2565. จาก https://www.rd.go.th/9292.html.
ฐาปนพงศ์ กลิ่นนิล. (2559). องค์ประกอบด้านความสำเร็จของระบบสารสนเทศในการซื้อสินค้าออนไลน์ บริบทสินค้าเด็ก. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 12(3), 21-37.
เตชะพิทย์ ผลาวงศ์. (2561). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจใช้งานโมบายแบงค์กิ้งซ้้า ในแง่ภาพลักษณ์ขององค์กรและคุณภาพของโปรแกรมประยุกต์เด็ก. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
นิชานันท์ ชาวนา. (2559). ปัญหาและอุปสรรคของการยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 1. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
ปฐมพร รอดศิริ. (2564). คุณภาพของระบบสารสนเทศ การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้การรับรู้ความมีประโยชน์และความพึงพอใจส่งผลต่อการตั้งใจใช้บริการระบบการยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสารโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing). (บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง).
ปฐมาภรณ์ บำรุงผล. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพระบบสารสนเทศที่ส่งผลต่อการตั้งใจใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ตของผู้ยื่นภาษีในธุรกิจภาคอุตสาหกรรม. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
ประสิทธิ์ เผด็จพาล. (2563). ปัจจัยและการยอมรับในเทคโนโลยีในระบบของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและการชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต (บุคคลธรรมดา และนิติบุคคล). (บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
พรชนก พลาบูลย์. (2558). การยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี และ พฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความตั้งใจของประชาชนในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่าน ระบบพร้อมเพย์ (Prompt Pay) ของรัฐบาลไทย. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
วรพรรณ นุตโร. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านทางอินเทอร์เน็ตในเขตสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง).
วันทนีย์ มงคลทรัพย์กุล, อัญณิฐา ดิษฐานนท์, อรพรรณ คงมา, มาลัย และ จันทร์จิรา นพคุณธรรมชาติ. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ: กรณีศึกษาการยื่นแบบและชำระภาษีออนไลน์. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ, 39(1), 3-9.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). การสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาในครัวเรือน พ.ศ. 2563. สืบค้น 13 เมษายน 2565. จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านICT/เทคโนโลยีในครัวเรือน/2563/Pocketbook63.pdf.
สุธีกานต์ สุขโกมล. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการใช้ระบบบริการจัดทำและนำส่งข้อมูลใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์และใบเสร็จรับนเงินอิเล็กทรอนิกส์. (บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
สุวิชาดา เสาสูง. (2563). คุณภาพของระบบและทัศนคติของผู้ใช้ที่มีผลต่อการใช้บริการระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร. (บัญชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยศรีปทุม).
อาริศรา นนทะคุณ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านทางออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร. (เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational behavior and human decision processes, 50(2), 179-211.
Bandura, A. (2012). Social cognitive theory. In P. A. M. Van Lange, A. W. Kruglanski, & E. T. Higgins (Eds.), Handbook of theories of social psychology. (pp. 349–373). New York: Sage Publications Ltd.
Delone, W. H., & McLean, E. R. (2003). The Delone and McLean model of information systems success: a ten-year update. Journal of Management Information Systems, 19(4), 9-30.
Foster, M. G. (1973). Traditional Societies and Technological Change. New York: Harper and Row.
Moore, G.C. and Benbasat, I. (1991) Development of an Instrument to Measure the Perceptions of Adopting an Information Technology Innovation. Information Systems Research, 2, 173-191.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of marketing, 49(4), 41-50.
Rogers, E.M. (1995). Diffusion of Innovations. (4th ed.). New York: The Free Press
Rogers, E.M. & Shoemaker F.Floyd. (1978). Communication of innovations: A cross cultural approach. New York: TheFree Press.
Taylor, S., & Todd, P. A. (1995). Understanding information technology usage: A test of competing models. Information systems research, 6(2), 144-176.
Thompson, R. L., Higgins, C. A., & Howell, J. M. (1991). Personal Computing: Toward a Conceptual Model of Utilization. MIS Quarterly, 15, 124-143.
Triandis, H. C. (1977). Subjective culture and interpersonal relations across cultures. Annals of the New York Academy of Sciences, 285(1), 418-434.
Venkatesh, V., Morris, M. G., Davis, G. B., & Davis, F. D. (2003). User acceptance of information technology: Toward a unified view. MIS quarterly, 27(3), 425-478.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.