ความสามารถทางนวัตกรรมที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานขององค์กรในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง ในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง กรณีศึกษา บริษัท ABC จำกัด
คำสำคัญ:
ความสามารถทางนวัตกรรม, นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์, นวัตกรรมด้านกระบวนการ, นวัตกรรมด้านการบริหาร, ผลต่อผลการดำเนินงานขององค์กรบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับของความสามารถทางนวัตกรรม และ (2) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของความสามารถทางนวัตกรรมที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานขององค์กร กรณีศึกษา บริษัท ABC จำกัด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือพนักงานในบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง ในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง กรณีศึกษา บริษัท ABC จำกัด จำนวน 400 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามรูปแบบออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ระดับความสามารถทางนวัตกรรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ นวัตกรรมด้านกระบวนการ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ และผลการวิเคราะห์อิทธิพลของความสามารถทางนวัตกรรมส่งผลต่อผลการดำเนินงานขององค์กร โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันระดับมาก ในทางบวกมี 4 ด้าน คือ นวัตกรรมด้านกระบวนการ นวัตกรรมด้านการบริการ นวัตกรรมด้านการบริหาร และนวัตกรรมด้านการตลาด ที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานขององค์กร โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ซี.เอ็ด ยูเคชั่น.
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (2563). วิจัยกรุงศรี. สืบค้น 30 มิถุนายน 2565. จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/Hi-tech-Industries/Automobiles/IO/io-automobile-20.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญบิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
เนติธร ประเสริฐวงศ์. (2563). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และความสามารถทางด้านนวัตกรรมที่มีผลต่อการดำเนินงานขององค์กรในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
วัชรพันธ์ ผาสุข. (2557). นวัตกรรม: การมุ่งเน้นตลาดและการมุ่งเน้นการเรียนรู้ในการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมและผลการดำเนินงานของธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลาง. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 21(2), 102-126.
อนุวัต สงสม. (2560). ความสามารถทางนวัตกรรม: การทบทวนวรรณกรรมและแบบจำลองเชิงแนวคิดเพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุและผลลัพธ์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 37(4), 182-194.
อุบลวรรณ สุวรรณภูสิทธิ์ และ อำพล ชะโยมชัย. (2561). นวัตกรรมและผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของกิจการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (โอทอป) ในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 38(1), 18-35.
Damanpour., F. (1996). Organizational complexity and innovation: developing and testing multiple contingency models. Management Science, 42(5), 693-716.
Das, S. R. & Joshi, M. P. (2012). Process innovativeness and firm performance in technology service firms: The effect of external and internal contingencies. EEE Transactions on Engineering Management, 59(3), 401-414.
Drucker, P. F. (2002). The discipline of innovation. Harvard business review, 80(8), 95-102.
Ferraresi, A. A., Santos, S. A., Frega, J. R., & Pereira, H. J. (2012). Knowledge management, market orientation, innovativeness and organizational outcomes: A study of companies operating in Brazil. Journal of Information Systems and Technology Management, 9(1), 89-108.
Lawson, B. & Samson, D. (2001). Developing Innovation Capability in Organizations: ADynamic Capabilities Approach, I International. Journal of Innovation Management, 5(3), 377-400.
Lee, J., & Hsieh, C. (2010). A Research In Relating Entrepreneurship, Marketing Capability, Innovative Capability And Sustained Competitive Advantage. Journal of Business & Economics Research, 8(9), 109-120.
Liao, S. H., Fei, W. C., & Chen, C. C. (2007). Knowledge sharing, absorptive capacity, and innovation capability: an empirical study of Taiwan’s knowledge-intensive industries. Journal of Information Science, 33(3), 340-359.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory. New York: McGraw-Hill Book.
Omri, W. (2015). Innovative behavior and venture performance of SMEs: The moderating effect of environmental dynamism. European Journal of Innovation Management, 18(2), 195-217.
Rovinelli, R.J. and Hambleton, R.K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Paper presented at the annual meeting of the American Educational Research Association: California. Retrieved 29 March 2023. from https://files.eric.ed.gov/fultlext/ED121845.pdf.
Tucker, R.B. (2003). Driving growth through innovation. San Francisco: Berrett Koehler Publishers.
UNIDO. (2023). World Manufacturing Production (Report). Retrieved 29 March 2023. from https://stat.unido.org/content/publications/world-manufacturing-production#:~:text=Since%20the%20last%20quarter%20of,considerably%20to%201.5%20per%20cent.
Vorhies, D. W., & Harker, M. (2000). The capabilities and perfor mance advantages of market‐driven firms: An empirical investigation. Australian journal of management, 25(2), 145-171.
Wang, C. L., & Ahmed, P. K. (2004). The development and validation of the organizational innovativeness constructusing confirmatory factor analysis. European Journal of Innovation Management, 7(4), 303-313.
Weerawardena, J. (2003). Exploring the role of market learning capability in competitive strategy. European journal of marketing, 37(3/4), 407-429.
Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis. (2nd Ed.). New York: Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.