คงคา: ขยะในสายน้ำจากศรัทธาและความเชื่อทางศาสนา
คำสำคัญ:
ความเชื่อ, แม่น้ำคงคา, ขยะจากศรัทธาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอคงคา : ขยะในสายน้ำจากศรัทธาและความเชื่อทางศาสนาแม่น้ำคงคาเป็นแม่น้ำที่ชาวฮินดูให้ความเคารพและศรัทธาด้วยการบูชาสิ่งของมีค่าและประกอบพิธีกรรมต่างๆ การมีโอกาสครั้งหนึ่งในชีวิตของศาสนิกชนที่นับถือศาสนาฮินดูจะต้องมีโอกาสเดินทางไปแสวงบุญและประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาตามคติความเชื่อที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน ความศรัทธาและความเชื่อการบูชาพระแม่คงคาด้วยวัตถุสิ่งของต่างๆ เช่น กระทง พวงมาลัย ดอกไม้ วัตถุสิ่งของมีค่า ขี้เถ้าจากซากศพ เป็นต้น กลายเป็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทำให้สภาพน้ำในแม่น้ำคงคาเน่าเสีย เป็นแม่น้ำที่ได้ชื่อว่าสกปรกมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก การบูชาพระแม่คงด้วยคติความเชื่อดั้งเดิมของชาวฮินดูในปัจจุบันกลายเป็นขยะจากศรัทธา ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะต่อเมืองต่างๆ ที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำคงคาถัดไปจากเมืองพาราณสี เมืองเหล่านั้นต้องมีต้นทุนค่าใช้จ่ายหรือต้องจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดการขยะในแม่น้ำที่ตนเองไม่ได้กระทำขึ้นมา เป็นต้นทุนทางสังคมที่ต้องรับผิดชอบจากผู้อื่นทิ้งขยะจากศรัทธา และเสียโอกาสจากการใช้งบประมาณเพื่อพัฒนาบ้านเมืองในด้านอื่นๆ เพื่อนำมาแก้ไขปัญหาขยะจากศรัทธาในแม่น้ำคงคา
References
กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์. (2557). ลวดลายประทับดินเผาบ้านเชียง : บูรณาการสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,6(2), 1-25.
กรมควบคุมมลพิษ. (2561). การจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย ข้อมูลสถิติ พ.ศ. 2561. สืบค้น 11 มีนาคม 2566. จาก https://www.pcd.go.th/garbage/page/2.
กรุงเทพธุรกิจ. (2565). ส่อง Top 10 ประเทศ “ประชากรสูงสุด” ภายในปี 2593. สืบค้น 11 มีนาคม 2566. จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/1021643.
คณา คชา. (2563). พาราณสีเมืองแห่งเทพเจ้า และความศรัทธา.สืบค้น 10 มีนาคม 2566. จาก https://themomentum.co/varanasi-india/.
ทวี ทวีวาร. (2535). อารยธรรมโลก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภาควิชาประวัติศาสตร์. (2542). มนุษย์กับอารยธรรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุมล นานัสฤดู. (2545). หลักเศรษฐศาสตร์ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บริษัทจุดทองจำกัด.
สุรัตน์ โหราชัยกุล และ ณัฐ วัชรคิรินทร์. (2564). คงคา สายธาราแห่งชีวิต. สืบค้น 10 มีนาคม 2566. จาก https://curadio.chula.ac.th/Program-Detail.php?id=11232.
อรพินท์ ปานนาค,มาตยา อิงคนารก, สมบูรณ์ธรรมครองอาตม์, ประกัสสร บุญประเสริฐ และ ศิวพร ชัยประสิทธิกุล. (2539).อารยธรรมตะวันออก. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Geographical. (2022). The Ganges: river of life, religion and pollution. Retrieved 18 August 2023. from https://geographical.co.uk/culture/the-ganges-river-of-life-religion-and-pollution.
Sharma, M. (2022). Ban on single-use plastic by July 1, is India Inc ready. Retrieved 18 August 2023. from https://www.indiatoday.in/business/story/single-use-plastic-indian-govt-ready-to-face-ban-1968568-2022-06-30.
Thaiontours Team. (2563). แม่น้ำคงคา (Ganges River) เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย. สืบค้น 10 มีนาคม 2566. จาก https://thaiontours.com/india/ganges-river-india.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.