การพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม

ผู้แต่ง

  • กรองทิพย์ นาควิเชตร
  • ทินกร บัวพูล
  • พัชรี วรจรัสรังสี
  • สุชาดา นาควิเชตร
  • ณัฐ นาควิเชตร

คำสำคัญ:

องค์ประกอบและตัวบ่งชี้, การส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้, นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ดำเนินการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลและกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 5 - 6  ใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพระดับดี รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์นักเรียนจำนวน 32 คน และการตอบแบบสอบถามของนักเรียนจำนวน 313 คน วิเคราะห์หาจำนวนองค์ประกอบด้วยวิธีสกัดตัวประกอบหลัก  ค้นหาตัวบ่งชี้การส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่า องค์ประกอบหลักและตัวบ่งชี้การส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียน มี 10 องค์ประกอบ มีตัวบ่งชี้ซึ่งสามารถส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้ของนักเรียน ได้ร้อยละ 61.017 ดังนี้ 1) ลักษณะสภาพแวดล้อมชุมชนและโรงเรียน สิ่งอำนวยความสะดวกและบุคคล สนับสนุนการเรียนรู้ 2) ครอบครัวเป็นแบบอย่าง ให้ความรัก ยอมรับ อบรมสั่งสอนและสนับสนุน  3) การพึ่งพาอาศัยกันในกลุ่มเพื่อน 4) การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในโรงเรียน 5) สมรรถนะ คุณลักษณะ จิตใจ อารมณ์ของตัวนักเรียนเอง 6) คุณลักษณะของอาจารย์ในการเป็นผู้ชี้แนะ 7) สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนกับนักเรียน 8) การจัดการเรียนการสอน 9) การจัดช่องทางติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองและสนับสนุนจูงใจในการเรียนรู้ 10) การเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและการเอื้อโอกาสการทำกิจกรรม

References

เอกสารอ้างอิง
กมล รอดคล้าย. (2562). เข็มทิศการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
กรองทิพย์ นาควิเชตรและคณะ. (2562). การพัฒนาความดีของคนไทยยุคใหม่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรค์สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ครั้งที่ 3 : การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. The 3rd APHEIT Inaugural Academic Conference วันที่ 2 - 3 กุมภาพันธ์ 2562 ณ Kensington English Garden Resort Khaoyai ….. Lifelong Learning อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. หน้า 485-499.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2554). ความสุข “นัยของความสุข”. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.dmh.go.th/newsสืบค้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2562.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ.
กรุณา เลิศพุทธิภิญโญ. เป็นผู้ให้สัมภาษณ์ เกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน, นักศึกษาหลักสูตร
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยนครราชสีมาเป็นผู้สัมภาษณ์,
ที่โรงเรียนวานิชวิทยา อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2563.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2544). การวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวด้วย SPSS for Windows. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กิตติวดี บุญซื่อ ปิตินันท์ สุทธิสาร สุนทร ช่วงสุวนิช และวิภา ตันฑุลพงศ์. (2549). การเรียนรู้อย่างมีความสุข. สำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. [ออนไลน์]. ได้จาก :
http://www.onec.go.th/index.phpสืบค้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2562.
ฐิติยา อัลอิดรีสี. (2551). การพัฒนาตัวบ่งชี้การส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ในจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผล
มหาวิทยาลัยทักษิณ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ธวัชชัย เกิ้นโนนกอก. (2558). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ความสามารถในการสื่อสารของผู้อำนวยการโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์
หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. นครราชสีมา : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.
ธวัชชัย เกิ้นโนนกอก ไพศาล หวังพานิช กรองทิพย์ นาควิเชตร สงวนพงศ์ ชวนชม. (2559). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ความสามารถในการสื่อสารของผู้อำนวยการโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 12(2) : 98 – 106.
ธารณ์ ทองงอก ภารดี อนันตนาวี สุขุม มูลเมือง คุณวุฒิ คนฉลาด. (2557). การพัฒนาตัวบ่งชี้การเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี.วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. 11(20) : 1 -17.
ธีระ รุญเจริญ. (2562ก). จิตวิญญาณความเป็นครู ในยุคเด็ก Gen Z. กิจกรรมวันครู และรับฟังแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครู จัดโดยคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา วันที่ 13 มกราคม 2562 ณ ห้องประชุมลำตะคอง วิทยาลัยนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา.
. (2562ข). การจัดการเรียนรู้ยุคระบบนิเวศทางการศึกษาเปลี่ยนใหม่. การประชุมสัมมนาทางวิชาการระดับชาติและงานบริหารสัมพันธ์ประจำปี 2562. วันที่ 26 เมษายน 2562 ณ โรงแรม
แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี.
. (2562ค). ภาพอนาคตของคนไทย. โครงการสร้างเครือข่ายและพัฒนาความรู้และประสบการณ์ผู้บริหารพี่เลี้ยง ครูพี่เลี้ยง อาจารย์ และนักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา และพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ทางวิชาการระหว่างสถาบันผลิตครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และสถานศึกษาเครือข่าย.
ห้องประชุมลำตะคอง วิทยาลัยนครราชสีมา วันที่ 11 พ.ค. 2562.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ประภาภัทร นิยม. (2557) ความสุขจากการเรียนรู้. โรงเรียนรุ่งอรุณ 2014 . (ออนไลน์). ได้จาก :
http://www. roong- aroon.ac.th สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2562.
ประเวศ ตันติพิวัฒนกุล และเอกอนงค์ สีตลาพินันท์. (2554). คู่มือสร้างสุขระดับจังหวัด ยุทธศาสตร์ความสุข ฉบับพกพา. กรุงเทพฯ : บริษัทครีเอทีฟ กูรู จำกัด.
ปัทมา ทองสม. (2554). การพัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขในการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารการพยาบาลและการศึกษา.4(1) มกราคม - เมษายน 2554 :
92 – 111.
พระไพศาล วิสาโร. (มปป). ทำงานอย่างไรให้มีความสุข. (ออนไลน์) ได้จาก :
https://www.youtube.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2561.
พิริยะพัฒน์ สุขไกร. (2556). การพัฒนาดัชนีชี้วัดคุณภาพการจัดการศึกษาของห้องเรียนเครือข่ายคณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. นครราชสีมา : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.
มารุต พัฒผล. (2557). รูปแบบการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับประถมศึกษา. วารสารวิชาการ Veridian E - journal ฉบับสังคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์ และศิลปะ. 7(3) กันยายน – ธันวาคม 2557 : 682 – 699.
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม. (2554). รายงานผลการประเมินตนเอง โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554.
กรุงเทพฯ : โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.
. (2560). แผนยุทธศาสตร์โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม พ.ศ. 2560 - 2563. กรุงเทพฯ : โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.
. (2562ก). เอกสารลงทะเบียนรายวิชาเลือกเสรี โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝ่ายประถม. กรุงเทพฯ : โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.
. (2562ข). คู่มือรายวิชาเลือกเสรี. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.
. (2563). วิจัยความสุขของนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.
ฝ่ายกิจการนักเรียน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2545). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีการพิมพ์.
ว.วชิรเมธี. (มปป.). วิธีทำงานกับผู้อื่นอย่างมีความสุข. (ออนไลน์) ได้จาก :
https://www.youtube.com/watch?v=uSPfZbmyyL4 สืบค้นเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2561.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2562ก). การเรียนรู้บนฐาน Passion : Passion – Based Learning. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผู้นำนวตกรรมการเรียนรู้. (ออนไลน์) ได้จาก : www.curriculummandlearning.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2562.
. (2562ข). การเรียนรู้อย่างจริงจังตั้งใจ (Active Deep Learning). บัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรนครินทรวิโรฒ.กรุงเทพฯ : ศูนย์ผู้นำนวตกรรมการเรียนรู้. (ออนไลน์) ได้จาก :
www.curriculummandlearning.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2562.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2562). มองดู ฉันทะ - ตันหา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ ในเครือบริษัทสำนักพิมพ์เพ็ทและโฮม จำกัด.
สุมาลี มีพงษ์. (2559). การเชื่อมโยงการศึกษาโดยครอบครัวกับโรงเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วาสารวิจัยการบริหารการพัฒนา. 6(2) กรกฎาคม - ธันวาคม2559 :
1 – 14.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ในรูปแบบของผลลัพธ์ ที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
สำราญ สิริภคมงคล ศิริเดช สุชีวะ และโชติกา ภาษีผล. (2556). มาตรวัดความสุขในการเรียนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย.วารสาร ทสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (SDU Research Journal). 9(2) : May – Aug. 2013) : 51 – 66.
สำอางค์ สุดสะอาด สมศักดิ์ ลิลา และสุรินทร์ สุทธิธาทิพย์. (2560). การพัฒนาแบบวัดความสุขของผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาในภาคตะวันออก.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(3) กรกฎาคม -กันยายน 2560 : 103 – 117.
อิสรา จิตตะโล วราพร เอราวรรณ สมเกียรติ ทานอก (2559) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์.
วารสารวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 22(1) กรกฎาคม 2559 : 386 – 396.
เอ็มไท. (2559). เปิดข้อความทฤษฎีแห่งความสุข แนวคิดสุดล้ำค่าของอัลเบิร์ต ไอสไตน์. (ออนไลน์) ได้จาก : https://book. mthai.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2561.
Hair and Others. (2006). Multivariate Data Analysis. (6 th ed.). New Jersey :
Pearson Prentice Hall.
Kang, Shimi. (2019). What on skill = An Awesome of Life?. TEDx Kelowa. Retrieved November 19, 2019, from https://www.youtube.com
Maslow. (1998). Maslow Hierarchy of Need. Retrieved April 17, 2019, from : http://www.iloveulove.com/psychology/maslowhon.htm
Mineo, L. (2017). The Harward Gezzete, Health & Medicine : Good genes are nice , but joy is better. Retrieved October 8, 2018, from https://news. harvard.edu/gazette/story/2017/04.
Pearson, Robert H & Mundform, Daniel J. (2010). Recommened Sample size for Conducting
Exporatory Factor Analysis on Dichotomous Data. Journal of Modern Applied of
Statistical Methods. November 2010, Vol, 9, No. 2 : 353 – 368.
Talebzadeh, F., & Samkan, M. (2011). Happiness for our kid in school : A concept model. Procedia – Social and Behavioral Sciences , 29 1462 – 1417.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-24