ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่มเจเนอเรชัน Z ในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • พนิดา ตันศิริ -

คำสำคัญ:

ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด การตัดสินใจซื้อสินค้า เจเนอเรชัน Z

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่ม             เจเนอเรชัน Z ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มเจเนอเรชัน Z เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 400 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีพฤติกรรมการซื้อสินค้าประเภทแฟชั่น ใช้เวลาในการซื้อต่อครั้ง 30 นาที – 1 ชั่วโมง

ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าสินค้าออนไลน์ของกลุ่มเจเนอเรชัน Z ได้แก่ ปัจจัยด้านราคา ด้านช่องทางจำหน่าย ด้านสินค้าที่ขาย และด้านส่งเสริมการขาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยทั้ง 4 ด้านร่วมกันพยากรณ์การตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ได้ ร้อยละ 5.1 และสามารถสร้างเป็นสมการในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้

สมการพยากรณ์ในรูปแบบคะแนนดิบ ได้แก่

  = 0.891 + .147 (X1) + .332(X2) + .201(X3) + .121(X4)  ; R2 = 0.510

สมการรูปแบบคะแนนมาตรฐาน ได้แก่

   =  .160(Z1) +.377(Z2) +.206(Z3)+ .139(Z4)

 

References

กาญจนาวดี สำลีเทศ, & ณัฐพัชร์ อภิวัฒน์ไพศาล. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางในระบบออนไลน์ของ GEN Z ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารศิลป ศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 3(3), 329-343.

ชุติมา คล้ายสังข์. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร. เรียกใช้เมื่อ 3 มกราคม 2565. จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dpuca/article/view/248080/167157

ธัญลักษณ์ สุมนานุสรณ์. (2562). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุ

กลุ่มเบบี้ บูมเมอร์. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University, 6(2), 175-188.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2563). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้ง ที่ 15).

กรุงเทพฯ: บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด. น.554-555.

ปิยมาภรณ์ ช่วยชูหนู. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางสังคมออนไลน์. เรียกใช้เมื่อ 3 มกราคม 2565. จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5802031426_5246_3954.pdf

สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2564). สถิติจำนวนประชากร. เรียกใช้เมื่อ 3 มกราคม 2565 จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/statmonth/#/displayData

วราพรรณ แสงเสงี่ยม. (2564). ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจองห้องพักผ่านตัวกลางออนไลน์ของชาวกรุงเทพมหานคร ในช่วงการระบาดโควิด-19 จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/5066/1/Warapun.sang.pdf

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). e-Commerce ไทย ยุคหลัง COVID-19. เรียกใช้เมื่อ 3 มกราคม 2565 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Perspective-on-Future-of-e-Commerce.aspx?feed=590fb9ad-c550-4bc5-9a56-459ad4891d74

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). บทบาทภาครัฐในการสนับสนุน e-Commerce. เรียกใช้เมื่อ 3 มกราคม 2565 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Government-Support-of-e-Commerce.aspx

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). ปัจจัยอะไรบ้าง…ที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นในการทำ e-Commerce. เรียกใช้เมื่อ 3 มกราคม 2565 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Building-Trust-in-e-Commerce.aspx

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). ETDA เผยโควิด-19 เป็นเหตุสังเกตได้ Gen Z ใช้เน็ตสูงสุด ปีแรก ชนะ Gen Y แชมป์ 6 สมัย. เรียกใช้เมื่อ 10 มกราคม 2565 จาก https://www.etda.or.th/th/pr-news/ETDA-released-IUB-2021.aspx

อาทิตย์ ว่องไวตระการ, & สันติธร ภูริภักดี. (2019). อิทธิพลของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และ เครื่องมือสื่อสารทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้า ผ่านร้านค้า ออนไลน์. จันทรเกษมสาร, ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 : มกราคม - มิถุนายน 2562

Chaffey, D., Edmundson-Bird, D., & Hemphill, T. (2019). Digital business and e-commerce management. Pearson UK.

Daoud, J. I. (2017, December). Multicollinearity and regression analysis. In Journal of Physics: Conference Series (Vol. 949, No. 1, p. 012009). IOP Publishing.

Jílková, P., & Králová, P. (2019). Customer purchase behavior and shopping in B2C e-commerce. In Proceedings of 6th International Scientific Conference Contemporary Issues in Business, Management And Economics Engineering ‘2019. doi (Vol. 10).

Kotler, P., Keller, K. L., Ancarani, F., & amp; Costabile, M. (2014). Marketing management 14/e. Pearson.

Mohd Satar, N. S., Dastane, O., & Ma’arif, M. Y. (2019). Customer value proposition for E- Commerce: A case study approach. International Journal of Advanced Computer Science and Applications, 10(2).

Sheth, J. (2020). Impact of Covid-19 on consumer behavior: Will the old habits return or die?. Journal of business research, 117, 280-283.

Stankevich, A. (2017). Explaining the consumer decision-making process: Critical literature review. Journal of International Business Research and Marketing, 2(6).

We Are Social, & Hootsuite. (2022). Digital 2022 Global Overview Report. Retrieved March 10 2022 from https://wearesocial.com/us/blog/2022/01/digital-2022-another-year-of-bumper-growth-2/

Wheelen, L. Thomas, and Hunger, J., David. (2012). Strategic Management and Business Policy: Toward Global Sustainability.

Zhong, Y., Guo, F., Wang, Z., & Tang, H. (2019). Coordination analysis of revenue sharing in E-commerce logistics service supply chain with cooperative distribution. Sage Open, 9(3), 2158244019870536.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30

ฉบับ

บท

บทความวิจัย