ภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยและทัศนคติต่อประเทศไทยที่ส่งผลต่อความตั้งใจกลับมาเยือนซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวอินโดนีเซียในช่วงการระบาดใหญ่โควิด-19
คำสำคัญ:
ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวไทย , ทัศนคติต่อประเทศไทย , ความตั้งใจกลับมาเยือนซ้ำ, การระบาดใหญ่โควิด-19บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยและทัศนคติต่อประเทศไทยที่ส่งผลต่อความตั้งใจกลับมาเยือนซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวอินโดนีเซียในช่วงการระบาดใหญ่โควิด-19 ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวอินโดนีเซียที่มีอายุ 16 ปีขึ้นไป พำนักอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย และเคยเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2559 ถึง พ.ศ.2565 จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวชาวอินโดนีเซียมีความคิดเห็นที่ดีต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวไทยในช่วงการระบาดใหญ่โควิด-19 อยู่ในระดับมากที่สุด และมีทัศนคติที่ดีต่อประเทศไทย อยู่ระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานที่ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติที่ 0.05 พบว่า ภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทย ที่ส่งผลต่อความตั้งใจกลับมาเยือนซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวอินโดนีเซียในช่วงการระบาดใหญ่โควิด-19 ประกอบด้วย ภาพลักษณ์ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยวและด้านแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ส่วนทัศนคติของนักท่องเที่ยวชาวอินโดนีเซียต่อประเทศไทย ที่ส่งผลต่อความตั้งใจกลับมาเยือนซ้ำในช่วงการระบาดใหญ่โควิด-19 ประกอบด้วย ทัศนคติต่อประเทศไทยด้านการท่องเที่ยวและด้านสาธารณสุข
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถิตินักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย ปี 2563
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562. Facebook. https://bit.ly/3ONVqE.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2556). โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน: อินโดนีเซีย. รายงานฉบับสมบูรณ์. สืบค้น 3 มีนาคม 2564, จาhttp://tourismlibrary.tat.or.th/medias/t24434.pd
เกศสุณีย์ สุขพลอย. (2558). การเปรียบเทียบภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวและผลกระทบการบอกต่อของแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดตรังและสตูลในมุมมองของนักท่องเที่ยว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
จุฑามาศ กันตพลธิตามา. (2560). ภาพลักษณ์และทัศนคติต่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรีของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ส่งผลต่อการกลับมาเยือนซ้ำ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
จุไร วงศ์สวัสดิ์. (ม.ป.ป.). ระบาดวิทยา: เชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 (โควิด-19). ใน คู่มือ COVID.
ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2558). สถิติพื้นฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 2). ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์.
ชิดชม กันจุฬา. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการมาท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยว กรณีศึกษาเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน, 2(1), 13-23.
ธงชัย สันติวงษ์. (2554). พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญพัฒน์.
พงศ์ศิริ คำขันแก้ง, พัชราภรณ์ ลิมปิอังคนันต์, ธรรมนูณ พ่อค้าทอง, และสุกฤษฎิ์ ลิ้มโพธิ์ทอง. (2563). ทธิพลของภาพลักษณ์การท่องเที่ยวและการรับรู้ความปลอดภัยแหล่งท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความตั้งใจกลับมาเยือนซ้ำของนักท่องเที่ยวในจังหวัดเมืองรองกลุ่มภาคเหนือตอนบน. วารสารวิชาการ การตลาดและการจัดการ, 7(2), 63-78.
พบพร โอทกานนท์ และ เยาวภา ปฐมศิริกุล. (2556). รูปแบบคุณภาพการบริการภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวและความพึงพอใจที่ส่งผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวของชาวยุโรป และชาวอเมริกัน. วารสารธรรมศาสตร์, 32(1), 35-56.
พิมพรรณ เหล่าวัฒนชัย. (2562). ผลกระทบของภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่มีต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวที่น่าจดจำ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
รัศมี ทองศรีเทพ. (2561). ปัจจัยภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิมหาวิทยาลัยหาดใหญ่).
เลิศพร ภาระสกุล. (2553). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ศลิษา ธีรานนท์ และ เจริญชัย เอกมาไพศาล. (2559). ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวที่มีผลต่อการตัดสินใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำในกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ: กรณีศึกษาภายหลังการเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมือง พ.ศ.2556-2557.วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ,7(13), 38-55.
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติและกรมควบคุมโรค. (2563). สถานการณ์โรคโควิด-19 ตลอดเดือนมีนาคม 2563. สืบค้น 3 มีนาคม 2564, จากhttps://www.youtube.com/watch?v=hJ2_ BcE_Yg&feature= youtu.be
สุกัญญา สุขวงศ์. (2558). ทัศนคติและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางมาท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
Canizares, S. M. S., Ramires, L. J. C., Fernandez, G. M. & Garcia, F. J. F. (2020). Impact of the Perceived Risk from Covid-19 on Intention to Travel. Current Issues in Tourism. Retrieved March 15, 2021 fromhttps://www.tandfonline.com/doi/full/10.1080/ 13683500.2020.1829571diRI Bakal Lampaui populasi Korsel. Merdeka.com. https://bit.ly/48cmxzG
Echtner, C. M., & Ritchie, J. R. B. (2003). The meaning and measurement of destination image. The Journal of Tourism Studies, 14(1), 37-48.
Elson, R. E. (2009). The idea of Indonesia: A history. Cambridge University Press.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.).
Kencana, M. R. B. (2020, September 16). Erick Thohir: Jumlah masyarakat kelas menengah
Ku, E. C. S., & Chen, C. D. (2015). Cultivating travellers’ revisit intention to e-tourism service:the moderating effect of website interactivity. Behaviour & Information Technology,34(5), 465-478.
Prebensen, N. K. (2007). Exploring tourists’ images of a distant destination. TourismManagement, 28(3), 747–756.
Wisnawa, B., Sutapa, K. & Prayogi, P.A. (2020). Persepsi Wisatawan Bali Terhadap Sapta Pesona, Sustainability dan Kepuasan Berwisata di Thailand. J. Perhotelan dan Pariwisata, 10(1), 47-66.
Zhang, B. (2016). The Impacts of Perceived Risk and Destination Image on Chinese Visitor’s Decision and Destination Loyalty for Visiting Thailand (Thesis, The Graduate School of Bangkok University).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 นัชชา ทัสลิม, มณฑกานติ ชุบชูวงศ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.