การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยทางการตลาด ที่มีต่อความตั้งใจในการใช้บริการซ้ำของธุรกิจร้านอาหารปิ้งย่างสไตล์เกาหลี แบรนด์ซูกิชิ ในจังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • ปฏิพร ภมร -
  • ธนกฤต วงศ์มหาเศรษฐ์

คำสำคัญ:

ความตั้งใจในการซื้อซ้ำ, ความรัก , ความจงรักภักดี

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อสำรวจและวิเคราะห์อิทธิพลของภาพลักษณ์ของแบรนด์ ความไว้ใจต่อแบรนด์ ความรักที่มีให้กับแบรนด์ ประสบการณ์ที่เคยมี ความจงรักภักดีที่มีต่อแบรนด์ การสื่อสารแบบบอกต่อ ที่มีต่อความตั้งใจในการใช้บริการซ้ำของลูกค้าที่เคยใช้บริการที่ร้านซูกิชิในจังหวัดชลบุรี โดยเก็บข้อมูลตัวอย่าง 400 ชุด จากกลุ่มประชากรที่เคยใช้บริการในพื้นที่ชลบุรี วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุเพื่อทดสอบสมมุติฐาน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภาพลักษณ์ของแบรนด์ ปัจจัยความไว้วางใจต่อแบรนด์ และปัจจัยประสบการณ์ที่มีต่อแบรนด์ไม่ส่งผลต่อความตั้งใจในการซื้อซ้ำของลูกค้าที่รับประทานอาหารที่ร้านซูกิชิ ในเขตชลบุรี ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ขณะที่ปัจจัยความรักที่มีต่อแบรนด์ ปัจจัยความจงรักภักดีที่มีต่อแบรนด์ และ ปัจจัยการสื่อ สารแบบบอกต่อ ส่งผลต่อความตั้งใจในการซื้อซ้ำของลูกค้าที่รับประทานอาหารที่ร้านซูกิชิ ในเขตชลบุรีที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

References

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2566). มูลค่าธุรกิจร้านอาหารขยายตัวในปี 2565-2566 ท่ามกลางโจทย์ท้าทายด้านต้นทุนและการรักษากำไรของผู้ประกอบการ. กระแสทัศน์ ฉบับที่ 3352, สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2566, จาก https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/business/Pages/restaurant-

ชุติพร แสงภู่. (2565). อิทธิพลของภาพลักษณ์ การรับรู้คุณค่า การสนับสนุนทางสังคม ที่มีผลต่อความผูกพัน ของลูกค้าส่งผลให้เกิดความไว้วางใจต่อแบรนด์และพฤติกรรมการบอกต่อสินค้าแบรนด์ Xiaomi (เสียวหมี่ ในเขตกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์การจัดการปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).

ณัฐกานต์ เตียววัฒนานนท์. (2562). การรับรู้คุณค่าตราสินค้า คสามวางใจ และคุณภาพการบริการ ส่งผลต่อความ ตั้งใจซื้อซ้ำของผู้บริโภคร้านอาหารประเภทชาบูในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

สุรวดี สุระประเสริฐ. (2552) ปัจจัยการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการภัตาคารซูกิชิของผู้บริโภค. (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

บุญไทย แสงสุพรรณ. (2562). คุณค่าตราสินค้าและปัจจัยส่วนประสมทางตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำของผู้บริโภคกาแฟร้านคาเฟ่อเมซอน ศึกษาเฉพาะสาขาในห้างสรรพสินค้าในเขตจังหวัดปทุมธานี. (ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี).

ภานุมาศ พรหมเมตตา. (2562). การวิเคราะห์ความรักในแบรนด์และพฤติกรรมการซื้อแบบไม่ได้ไตร่ตรองของผู้บริโภคที่มีเจเนอเรชั่นแตกต่างกันกรณีศึกษาแบรนด์รองเท้ากีฬา. (นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย).

ลักษิกา มุกดากุล. (2564) การศึกษาประสบการณ์ลูกค้า และการรับรู้คุณค่าในแบรนด์ ที่ส่งผลต่อความตั้งใจ ซื้อซ้ำและการบอกต่อ ในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารเครื่องดื่ม และขนมหวานแบรนด์สากลน้าเข้าจากต่างประเทศ. (วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.สุดารัตน์).

เกลี้ยงสอาด และชาญชัย เมธาวิรุฬห์. (2565). อิทธิพลของการสื่อสารตราสินค้า ต่อภาพลักษณ์ต่อสินค้า ชื่อเสียงราคาสินค้า ความเชื่อใจตราสินค้า และความตั้งใจซื้อซ้ำของแพลตฟอร์มรับส่งอาหาร. Journal of Communication Art, 40(3), 24-36.

สุมามาลย์ ปานคำ และ รพีพร คงกุทอง. (2564). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการซื้อซ้ำเครื่องสำอางบนเพขเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารศิลปะการจัดการ, 5(2), 272-285.

Abhigyan Sarkar, Abhilash Ponnam and B. Kinnera Murphy. (2012). Understanding and Measuring Romantic Brand Love. Journal of Customer Behaviour, 11(4), 325-348.

Alberto Badenes-Rocha, Enrique Bigne and Carla Ruiz. (2022). Impact of cause-related marketing on consumer advocacy and cause participation: A causal model based onself-reports and eye-tracking measures. Psychology and Marketing, 39(1), 217-226.

Aquinia, A. & Soliha, E. (2020). The effect of brand equity dimensions on repurchase intention. Diponegoro International Journal of Business, 3(2), 97-103

Cronbach, L.J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York: Harper & Row.

Erkmen, E., & Turegun, N. (2022). Success model of online food delivery system: The role of brand image in customer responses. Innovative Marketing, 18(2), 148-160.

Fang, Y. H., Chiu, C. M., & Wang, E. T. G. (2011). Understanding customers’ satisfaction and repurchase intentions an integration of IS success model, trust, and justice. Internet Research, 21(4), 479-503.

Hollebeek, L. (2011). Demystifying Customer Brand Engagement: Exploring the Loyalty Nexus. Journal of Marketing Management, 27, 785-807.

Howard, J.A. (1994). Buyer behavior in marketing strategy (2nd ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.

Le, T. T., Tiwari, A. K., Behl, A., & Pereira, V. (2021). Role of perceived corporate social responsibility in the nexus of perceived cause-related marketing and repurchase intention in emerging markets. Management Decision,

Minseong, K. (2022). How can I Be as attractive as a Fitness YouTuber in the era of COVID-19? The impact of digital attributes on flow experience, satisfaction,and behavioral intention. Journal of Retailing and Consumer Services, 64(C),1-15.

Molahoseini, A., and F. Tajoddini. (2015). The Effects of distribution channel diversification of luxury brand on consumers’ brand value and loyalty consumers in clothing market Kerman. Journal of Business Management 7 (1), 178–208.

Paul, M., Thurau, T.H., Gremler, D.D., Gwinner, K.P., & Wiertz, C. (2009). Toward a Theory of Repeat Purchase Drivers for Consumer Service. Academy of Marketing Science, 37(2), 215-237

Putra, j. & Arif, M. (2019). The Effect of Electronic Word of Mouth (EWOM), Price and Brand Image on Repurchase intention (A Case study of CITILINK INDONESIA consumer in Malang). Jurnal Ilmiah Ma hasiswa, 7(2), 1-9.

Wijaya, H. R., & Astuti, S. R. T. (2018). The effect of trust and brand image to repurchase intention in online shopping. International Conference on Economics, Business and Economic Education, 915-928.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30