ความเป็นมาตรฐานในการจัดการเสนาสนะของวัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผู้แต่ง

  • พระครูวินัยธรศิริเชษฐ์ สิริวฑฺฒโน วัดบางนมโค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

มาตรฐาน, การจัดการ, เสนาสนะ

บทคัดย่อ

บทความนี้เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเสนาสนะกับความเป็นมาตรฐาน ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีต่อความเป็นมาตรฐานในการจัดการเสนาสนะของวัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี พบว่า พระสงฆ์มีความคิดเห็นต่อความเป็นมาตรฐานในการจัดการเสนาสนะภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการจัดการเสนาสนะกับความเป็นมาตรฐานมีความสัมพันธ์กันมาก ปัญหา อุปสรรค ป้ายบอกทางเริ่มมีการใช้งานมานานเริ่มชำรุดและเสียหาย ห้องน้ำอยู่ไกลเกินไป

References

พระครูปลัดสราวุธ ฐิตปญฺโญ และคณะ. (2559). การพัฒนาวัดเพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชนในจังหวัดชลบุรี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 505-506.

พระครูสมุห์ณัฏฐเสฏฐ์ อธิญาโณ และคณะ. (2559). การพัฒนาการบริหารจัดการ การสาธารณูปการของพระสังฆาธิการ ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค 11. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 1-14.

พระบุญธรรม ชุ่มเย็น และคณะ. (2561). รูปแบบการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะมูลฝอย แบบมีส่วนร่วมของวัด จังหวัดปทุมธานี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร,
6(1).

พระมหาเกริกชัย เริญไธสง.(2557). แนวทางการพัฒนาวัดตามมาตรฐานของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติในจังหวัดนครปฐม (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรมศิลปากร.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมาน อัศวภูมิ. (2559). ความเป็นมาตรฐานและการจัดการความเลิศ. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 16(1), 25-26.

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2554). การพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

Yamane. T. (1970). An Introductory Analysis. New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-10-28