การมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบธรรมาธิปไตยของประชาชน ในเขตเทศบาลตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • พระมหายิ่งยศ มหามงฺคโล วัดหนองสนม จังหวัดระยอง

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม; การมีส่วนร่วมทางการเมือง; ธรรมาธิปไตย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชน ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบธรรมาธิปไตยของประชาชนในเทศบาลตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี พบว่าประชาชนมีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบธรรมาธิปไตย โดยของประชาชนภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลต่างมีความคิดเห็นภาพรวมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ปัญหาและอุปสรรค คือ ประชาชนส่วนใหญ่คิดว่าการเมืองเป็นเรื่องไกลตัวการเมืองเป็นเรื่องของนักการเมือง ไม่ใช่เรื่องของประชาชนการเมืองเป็นเรื่องของผลประโยชน์จะเอื้อกับกลุ่มที่มีอำนาจ ควรมีการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับบุคคลทุกกลุ่มเพื่อให้มีความเข้าใจในการมีส่วนร่วม

References

จรูญ สุภาพ. (2551). กระบวนการทางการเมืองและการปกครอง: การเลือกตั้งในการเมืองปกครองไทย. ชลบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฉัณทิพย์ จ าเดิมเผด็จศึกและวรรณธนพล หิรัญบูรณะ (2561).การส่งเสริมประชาธิปไตยด้วยหลักธรรมาธิปไตย. วารสารรัชต์ภาคย์, 12(26), 1-10.

นุชาวดี อิศรภักดี.(2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองกับความคิดประชาธิปไตย. วารสารรัฐศาสตร์ ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 3(2), 1-10.

ปนัดดา ดิศกุลและคณะ. (2556). แนวคิดในการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบจังหวัดจัดการตนเองกับสถานะความเป็นรัฐเดี่ยวของประเทศไทย. วารสารการปกครองท้องถิ่น, 10(3), 13-18.

สำนักทะเบียนราษฎร์. (2562). จ านวนประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลเนินพระ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัดระยอง. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.ect.go.th/rayong

สิทธิศานติ์ ทรัพย์สิริโสภา. (2544). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย : กรณีศึกษาการจัดการมูลฝอยเทศบาลท่าบ่อ อ าเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย (วิทยานิพนธ์บัณฑิต) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุจินต์ ธรรมชาติ. (2549). การวิจัยภาคปฏิบัติวิธีลัด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-05-30