การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการเมืองการปกครอง ตามแนวธรรมาธิปไตยในเขตเทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • พระนิคม จนฺทธมฺโม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, การพัฒนาการเมือง, ธรรมาธิปไตย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการเมืองการปกครองตามแนวธรรมาธิปไตย เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนมีความ คิดเห็นต่อการมีส่วนร่วม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ประชาชนที่มีเพศ อายุ การศึกษาสถานภาพ สมรสต่างกัน มีส่วนร่วมไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ส่วนประชาชนที่มีอาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีส่วนร่วมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัย ข้อเสนอแนะ คือ ประชาชนควรสร้างความรู้ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการมีส่วนร่วมของการพัฒนาการเมืองการปกครอง โดยเข้าไปมีส่วนตามวิถีทางแห่งประชาธิปไตยในการตัดสินใจ

Author Biography

พระนิคม จนฺทธมฺโม, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

References

กริชกมล เหล่าอรรคะ. (2550). บทบาทของเทศบาลตำบลหัวขวางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2554). สถิติเบื้องต้นและการวิจัย: Basic Statistics and Research. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

จินตนา กัลป์ยาณพันธ์. (2549). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบริหารงานขององค์การบริหารส่วน ตำบล : กรณีศึกษาเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบลหนองรี อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี.

ณัฐชยา หลักชัย. (2555). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของเทศบาลเมืองระนอง จังหวัดระนอง. สารนิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขารัฐศาสตร์การปกครอง. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.

ทินพันธ์ นาคะตะ. (2517). ประชาธิปไตย: ความหมายปัจจัยเอื้ออำนวยและการสร้างจิตใจ. กรุงเทพฯ: ธรรมศาสตร์.

ธัชชนก ศรีประภัสสร. (2540). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกริก.

ธีระยุทธ สุดเสมอใจ. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

พระศักดา กิตฺติญาโณ. (2556). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย.

ไพรชล ตันอุด. (2552). การมีส่วนร่วมของผู้นำและประชาชนในการพัฒนาชุมชนเขมแข็งเมืองน่าอยู่: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองแกนพัฒนา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. สาขารัฐศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มนูญ หวันหยี. (2550). บทบาทผู้นำชุมชนการมีผลประโยชนและการมีสวนร่วมของชุมชนที่มีผลต่อการ ยอมรับโครงการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

รัฐพงศ์ บุญญานุวัตร.(2552). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของประชาชนเขตดุสิต กรุงเทพฯ (รายงานผลการวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สำนักงานเทศบาลนครระยอง. (2562). งานทะเบียนราษฎร์. เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562.

อมรรัตน์ ศิริกาญจนวงศ์. (2551). การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานเทศบาลตำบลบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30