การส่งเสริมการอนุรักษ์โบราณสถานของคณะสงฆ์อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

ผู้แต่ง

  • พระปิยวัฒน์ อินฺทปญฺโญ วัดเกาะลอย จังหวัดราชบุรี

บทคัดย่อ

บทความนี้เพื่อศึกษาการส่งเสริมการอนุรักษ์โบราณสถาน เปรียบเทียบความคิดเห็นของพระสงฆ์ และศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีต่อการส่งเสริมการอนุรักษ์โบราณสถานของคณะสงฆ์อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี พบว่า การส่งเสริมการอนุรักษ์โบราณสถาน ภาพรวม อยู่ระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาสามัญต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ปัญหาและอุปสรรค คือ ขาดบุคลากร ขาดงบประมาณ ดังนั้น ควรรณรงค์ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการรักษาโบราณสถานร่วมกับทางวัด ควรรณรงค์ให้พุทธศาสนิกชนร่วมบริจาคทรัพย์เพื่อการบูรณะโบราณสถาน

Author Biography

พระปิยวัฒน์ อินฺทปญฺโญ, วัดเกาะลอย จังหวัดราชบุรี

 

References

กรมศิลปากร. (2553). การอนุรักษ์โบราณสถาน: การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.

________. (2544). คู่มือถวายความรู้แด่พระสังฆาธิการในการดูแลรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมาพันธ์.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2544). คู่มือการจัดทัศนศึกษาสำหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

จีรวรรณ นกเอี้ยงทอง, สมใจ เภาด้วง และสุทิศ ไพบูลย์วัฒนกิจ. (2560). การออกแบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม (รายงานการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์ และคณะ. (2550). ศึกษาศาสนสถานที่สำคัญต่อการอนุรักษ์การท่องเที่ยวของวัดในกรุงเทพฯ (รายงานการวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระปลัดเกษม ติสมฺปนฺโน. (2554). บทบาทพระสงฆ์ในการอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุในอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพชรพร โชติวโร (2554). ศึกษากระบวนการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษาวัดร้องเม็ง จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาญาณวัฒน์ ตวฑฺฒโน. (2548). บทบาทพระสังฆาธิการที่มีต่อการอนุรักษ์โบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วีระ เปล่งรัศมี. (2543). บทบาทของพระสงฆ์ต่อการอนุรักษ์โบราณสถานในจังหวัดเชียงราย (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศุภชัย สนธิรักษ์. (2549). ศักยภาพการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์แหล่งโบราณสถาน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหน้าประดู่ อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สาลี่ แก้วตาทิพย์. (2550). บทบาทของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร. (2550). แนวทางการอนุรักษ์โบราณสถานสำหรับพระสงฆ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด มหาชน.

สุนทร เพชรทอง. (2548). มาตรการทางกฎหมายในการรักษา คุ้มครองโบราณสถานตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ.2504 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-11-30