พรรคการเมืองกับการสร้างความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตย ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พระมหาศิวพล พลเมธี วัดเขียนเขต จังหวัดปทุมธานี

คำสำคัญ:

พรรคการเมือง, ความเข้มแข็งทางการเมือง, ระบอบประชาธิปไตย

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการนำเสนอมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างความเข้มแข็งของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตยเพื่อการเสริมสร้างความมั่นคงของการเมืองไทย บทบาทที่สำคัญในการเสริมสร้างความมั่นคงการเมืองไทยคือบทบาทการบริหารจัดการพรรคตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่กำหนดเพื่อป้องกันมิให้พรรคทำผิดกฎหมายที่เสี่ยงต่อการถูกยุบพรรคที่กระทบต่อเสถียรภาพทางการเมืองไทยได้ บทบาทการจัดตั้งรัฐบาลให้การเมืองไทยสามารถดำเนินการไปได้เพื่อรักษาโครงสร้างและกระบวนการทางการเมืองไทยให้คงอยู่และมีเสถียรภาพทางการเมืองทั้งในระบบการเมือง และเสถียรภาพรัฐบาล บทบาทในการสนับสนุนให้รัฐบาลมีความมั่นคงในช่วงวิกฤติ

References

กนก วงษ์ตระหง่าน. (2553). พรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรูญ สุภาพ. (2538). ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

จักษ์ พันธ์ชูเพชร. (2549). การเมืองการปกครองไทย จากยุคสุโขไทยสู่สมัยทักษิณ (พิมพ์ครั้งที่ 6). ปทุมธานี: บริษัท มายด์ พับลิชชิ่ง.

ชรินทร์ สันประเสริฐ. (2563). พัฒนาการของรัฐไทย. เอกสารการสอนชุดวิชาพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของการเมืองไทย หน่วยที่ 4. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช.

ณรงค์ เหล่าธีระเชาวน์. (2556). ประชาธิปไตย. รายงานการอบรมตามหลักสูตรนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.

นรนิติ เศรษฐบุตร. (2530). พรรคประชาธิปัตย์: ความสำเร็จหรือความล้มเหลว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

________. (2534). พรรคการเมืองกับพัฒนาการทางการเมืองไทย ใน เอกสารการสอนชุดวิชาปัญหาพัฒนาการทางการเมืองไทย หน่วยที่ 1–7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2534.

พระกฤษฎายุทธ เต๋จ๊ะดี และคณะ. (2555). พระพุทธศาสนา กับ แนวโน้มโลกยุคใหม่ : วิถีครูบาศรีวิชัยสู่อารยธรรมร่วมสมัย การประชุมวิชาการระดับชาติ. ลำพูน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2549). หลักรัฐศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์ จำกัด.

วรทิพย์ มีมาก และชีวินทร์ ฉายาชวลิต. (2547). หน้าที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: รำไทยเพรส จำกัด.

วิทยากร เชียงกูล. (2565). หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://www. Witayakorndub.wordpress.com/ democratic

วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2544). การดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองไทย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

สุจิต บุญบงการ. (2526). บทบาทของสภานิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์.

อานนท์ อาภาภิรม. (2545). รัฐศาสตร์เบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

Huntington, S.P. (1963). Political Order in Changing Societies. Conn: Yale University Press.

Phongpaichit, P., & Piriyarangsan, S. (1994). Corruption and Democracy in Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-23