แนวคิดเมืองยุคใหม่สู่รากฐานเมืองที่ยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • ชาตรี สุขสบาย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

เมือง, เมืองยุคใหม่, เมืองที่ยั่งยืน, เมืองที่มีความน่าอยู่

บทคัดย่อ

บทความเรื่องแนวคิดเมืองยุคใหม่สู่รากฐานเมืองที่ยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม แนวความคิดที่นำมาอธิบายความเป็นเมืองยุคใหม่ว่า ในปัจจุบันเมืองยุคใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ความเป็นเมืองที่ยั่งยืน ที่รับเอารูปแบบ
การพัฒนาในหลายมิติ ทั้งในระดับการพัฒนาตั้งแต่ระดับโลก ระดับประเทศ จนถึงระดับชุมชนโดยยึดถือแนวคิดการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนนี้ เป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาการพัฒนาในด้านต่าง ๆ รวมถึงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของเมือง ท้ายสุดคือเมืองยั่งยืน และการมีความพยายามที่จะก่อให้เกิดแนวทางในการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองยุคใหม่อย่างเป็นรูปธรรมตามกรอบการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทสากล เพื่อส่งเสริมความน่าอยู่ของเมือง เช่น การออกแบบชุมชนเมือง และการจัดภูมิทัศน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อที่จะทำให้เกิดการบรรลุผลทางการพัฒนาเมืองอันได้แก่ เมืองที่มีความน่าอยู่ ความคงอยู่ได้หรือการมีประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ความเท่าเทียม การปกครองเมือง และการเป็นเมืองยั่งยืน นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของพลเมือง

References

กำธร กุลชล. (2545). การออกแบบชุมชนเมืองคืออะไร : การติดตามหาคำตอบในรอบ 40 ปี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไชยยันต์ กัมปนาทแสนยากร. (2538). เมืองน่าอยู่. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.

ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตน์ เจริญเมือง. (2545). เมืองยั่งยืน : ประสบการณ์จากตะวันตก. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปรีดิ์ บูรณศิริ. (2546). การพัฒนาเมืองน่าอยู่. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผู้จัดการออนไลน์. (2564). 8 เมืองที่ยั่งยืนที่สุดในโลก สำรวจเมืองยุคใหม่ตามเทรนด์โลก. สืบค้น 9 มีนาคม 2566, จาก https://shorturl.asia/YdNwP

พิภพ อุดมอิทธิพงศ์. (2539). วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์และความหวังสำหรับเมืองที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

_____. (2539). ทำเมืองให้น่าอยู่ : วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์และความหวังสำหรับเมืองที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ภาวิณี เอี่ยมตระกูล. (2555). การวางแผนเมืองและการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

วิจิตรบุษบา มารมย์. (2560). การประเมินองค์ความรู้ด้านเมืองยั่งยืนในประเทศไทย = A Knowledge Assessment on Sustainable Cities in Thailand. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุวัฒนา ธาดานิติ. (2550). การประยุกต์แนวความคิดและแผนพัฒนาเมืองและชุมชนน่าอยู่สู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Harvey, Fiona (2011). Green vision: the search for the ideal eco-city. Retrieved March 20, 2023, from https://shorturl.asia/Zgam8

Richard, R. (1987). Ecocity Berkeley: Building Cities for a Healthy Future. California Berkeley.

Leccese, M. & McCormick, K. (2000) Charter of the New Urbanism. New York: The McGrew-Hill Companies.

Woller, M. Gary. (1997). Public Administration and Postmodernism: Editor’s Introduction. American Behavioral Scientist, 41(1), 9-11.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-25