ถอดบทเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยปลอดเหล้า: กลยุทธ์การสื่อสาร เพื่อป้องกันและควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษา

ผู้แต่ง

คำสำคัญ:

มหาวิทยาลัยปลอดเหล้า, กลยุทธ์การสื่อสาร, เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, สถานศึกษา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. วิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อป้องกันและควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษา 2. วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา และ 3. วิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จในการขับเคลื่อนเครือข่ายมหาวิทยาลัยปลอดเหล้า เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ชุดคำถามอย่างมีโครงสร้างเพื่อการถอดบทเรียนเป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ บุคลากรของเครือข่ายมหาวิทยาลัยปลอดเหล้าที่มีบทบาทหน้าที่ในงานป้องกันและควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานศึกษา จำนวน 15 สถาบัน

ผลการวิจัยพบว่า 1. เครือข่ายมหาวิทยาลัยปลอดเหล้าใช้กลยุทธ์การสื่อสาร 5 กลยุทธ์หลัก คือ การสร้างผู้นำความคิดหรือบุคคลต้นแบบ กลยุทธ์การจัดกิจกรรมรณรงค์ กลยุทธ์เครือข่ายการสื่อสาร กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ และกลยุทธ์การชี้แนะผ่านสื่อ 2. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา คือ บริบทของมหาวิทยาลัยด้านขนาด ประเภท และที่ตั้ง 3. ปัจจัยความสำเร็จในการขับเคลื่อนเครือข่ายมหาวิทยาลัยปลอดเหล้า ประกอบด้วย การรวมกลุ่มและเครือข่ายที่มีความหลากหลาย และผู้ประสานการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยปลอดเหล้า

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2556). เริ่มคิดใหม่ สู่ทำใหม่ กับสื่อพื้นบ้านเพื่องานสร้างเสริมสุขภาวะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

_____. (2565). เครื่องมือจัดการความรู้ในงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. กรุงเทพ: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น.

กาญจนาถ อุดมสุข. (2549). กลยุทธ์การสื่อสารโครงการรับน้องปลอดเหล้าของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ปี 2549 (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์พัฒนาการ). กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชรัมพร อัยสานนท์ และคณะ. (2560). นวัตกรรมการรณรงค์ควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในต่างประเทศ. กรุงเทพ: PNP Group.

ธีระวุธ ธรรมกุล. (2564). การเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนนักศึกษาบริเวณรอบสถานศึกษาเขตเมือง. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 14(2), 89-100.

นันทวุฒิ วงศ์เมฆ. (2561, 22 ตุลาคม). หัวหน้าสำนักงานกิจการนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ [บทสัมภาษณ์].

ปิยวัชน์ คงอินทร์. (2562, 12 กุมภาพันธ์). หัวหน้าส่วนกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ [บทสัมภาษณ์].

ปีติฉัตร คงนุ่นวั่นเส้ง. (2561, 13 ตุลาคม). หัวหน้าฝ่ายกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยทักษิณ [บทสัมภาษณ์].

พระมหากำพล คุณงฺกโร. (2557). ปัญหาการดื่มสุราในสังคมไทย. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 8(1), 105-114.

พลเทพ วิจิตรคุณากร และอธิบ ตันอารีย์. (2562). รายงานสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายจังหวัด พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์.

พิระ วัฒิธรรม. (2561, 2 ธันวาคม). หัวหน้ากิจการนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนพังงา [บทสัมภาษณ์].

มะซัยดี มะโร๊ะ. (2561, 10 ธันวาคม). เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี [บทสัมภาษณ์].

วิทย์ วิชัยดิษฐ และคณะ. (2561). รายงานสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสังคมไทย ประจำปี พ.ศ. 2560 (รายงานการวิจัย). กรุงเทพ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์.

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. (2562). ข้อเท็จจริงและตัวเลขเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย พ.ศ. 2559-2561. กรุงเทพ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์.

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และดาริกา ใสงาม. (2562). สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทยและของโลก พ.ศ. 2559-2561. กรุงเทพ: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา.

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ. (2565). แบบแผนและแนวโน้มพฤติกรรมการดื่มสุราของประชากรไทย. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุนิศา เพี้ยนโอสถ. (2552). กลยุทธ์บุคคลต้นแบบในการรณรงค์ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสื่อสารมวลชน). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุพรรณพร วรรณเวช. (2561, 19 ตุลาคม). หัวหน้างานพัฒนานักศึกษา กองวิชาการและพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ [บทสัมภาษณ์].

สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ. (2559). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรคในเมืองใหญ่ (Big City). กรุงเทพ: กรมควบคุมโรค.

McCoppin, R. (2012). Colleages try new tactics in battle against binge drinking. Retrieved March 20, 2023, from https://shorturl.asia/uMaJd

National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism. (2002). How To Reduce High risk college drinking: college drinking: use proven strategies, Fill Research Gaps. Retrieved March 20, 2023, from https://shorturl.asia/AGXYi

World Health Organization. (2018). Global status report on alcohol and health 2018. Geneva: World Health Organization.

Wolfson, H. (2012). University of Albama students design anti-drinking campaign. Retrieved March 20, 2023, from https://shorturl.asia/QRbVh

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-25