อาหารสามัญ: วัฒนธรรมอาหาร และการกินของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามอําเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย
คำสำคัญ:
อาหารสามัญ, นัยลักษณ์ชาติพันธุ์, คลังอาหารบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมอาหารการกินของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในพื้นที่ตลาดสดเทศบาลเมืองท่าบ่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย โดยเป็นการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณาด้วยวิธีการสำรวจ สังเกตวัฒนธรรมอาหารและวิถีการบริโภคอาหารสามัญในชีวิตประจำวัน ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนาอย่างไม่เป็นทางการกับชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในพื้นที่ศึกษา ผลการศึกษาพบว่า “อาหารสามัญ”ในชีวิตประจำวัน ทั้งในแง่ของรสชาติ วัตถุดิบ การปรุง การบริโภค และการจัดวางพื้นที่ของโต๊ะอาหาร สะท้อนให้เห็นถึงการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม อาหารสามัญ จึงมี “นัยลักษณ์ทางชาติพันธุ์” ที่สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการทางความคิด วิถีชีวิต และ “ความเป็นเวียต” ที่ปรากฎในชุมชน พหุวัฒนธรรม
References
กลุ่มชาติพันธุ์ไทย. (ม.ป.ป.). ภาพถ่าย: เวียต. สืบค้นจาก https://www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/ gallery/30
ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย. (2556). ความใกล้ชิดของความหมายแห่งชีวิตสังคมวิทยาชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สยามปริทัศน์จำกัด.
ณรงค์ศักดิ์ คูบุญญอารักษ์, พิสิฏฐ์ บุญไชย และ ไพบูลย์ บุญไชย. (2561) บทบาทของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม; 8(2) พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 หน้า 107-116.
ทุติยาภรณ์ ภูมิดอนมิ่ง. (2562). อาหารทวิภพ ชุมชน และคนตาย: วิถีอาหารในพิธีเสกสุสานคาทอลิกหนองแสง. วารสารสหวิทยาการ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 ม.ค-มิ.ย 2563 น. 62-91.
ทุติยาภรณ์ ภูมิดอนมิ่ง. (2564). “แม่ญิงเฮ็ดปลา” เรื่องเล่าของอาหาร บ้าน และชีวิตสตรีเพศแห่งลุ่มน้ำสงคราม. วารสารสตรีนิยมไทย "จุดยืน" 8(2) กรกฎาคม-ธันวาคม 2564 น. 1-24.
นงนุช อุเทศพรรัตติ์นกุล. (2544). วัฒนธรรมการบริโภคอาหารของชาวเวียดนามในเขตเทศบาลเมืองนครพนม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิติ ภวัครพันธุ์. (2558). เรื่องเล่าเมืองไต: พลวัตของเมืองชายแดนไทย-พม่า. เชียงใหม่: ศูนย์อาเซียน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นิติ ภวัครพันธุ์. (2565). สุนทรียาหารริมโขง: สำรับเวียด. สืบค้นจาก https://www.the101.world/ vietnamese-food/
บุศรินทร์ เลิศชวลิตกุล. (2555). การเมืองเชิงวัฒนธรรมของรสชาติ: วิถีอาหารของแรงงานไทยใหญ่ในเมืองเชียงใหม่. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา. 31 (2) กรกฎาคม- ธันวาคม.
วรรณธวัช พูนพาณิชย์. (2553) ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมกับการปรับตัวธุรกิจร้านอาหารของคนไทยเชื้อสายเวียดนามในเขตเทศบาลเมืองนครพนม. มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ.
เสาวลักษณ์ เชื้อคำ. (ม.ป.ป.). ย้อนรอยวัฒนธรรมอาหารเวียดนามในอีสาน. สืบค้นจาก https://krua.co/food_story/ vietnamese-food-in-isan
อุบลวรรณ รัตนเมธีกุล (2550). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมของชาวเวียดนามในจังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
Abarca, M.E., & Colby, J. R. (2016). Food memories seasoning the narratives of our lives. Food
And Foodway, 24(1-2), 1-8.
Brown, Linda Keller and Kay Mussell. 1984. “Introduction.” in Ethnic and Regional Foodways in the United States: The Performance of Group Identity, edited by Linda Keller Brown and Kay Mussell, 3-15. Knoxville: The University of Tennessee Press.
Charles N., Kerr M. Women. (1988). Food and families. Manchester: Manchester University Press.
Cheung Sidney. (2007). Food and Foodways in Asia Resource, Tradition and Cooking. London: Routledge.
Design Makes A Better Life. (ม.ป.ป.). “พฤติกรรมนำเมือง” ถอดรหัสวิถีชีวิตที่นำไปสู่เอกลักษณ์ของความเป็นเมืองฮานอย. สืบค้นจาก https://dsignsomething.com/2019/09/27/%e0%b8%9e%e0%b8%a4%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b3%e0%b9%80%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%87-%e0%b8%96%e0%b8%ad%e0%b8%94%e0%b8%a3%e0%b8%ab%e0%b8%b1%e0%b8%aa/
Jonathan Bishop Highfield. (2017). Food and Foodways in African Narratives: Community, Culture, and Heritage. New York: Routledge.
Judith Goode. (1992).“Food,” in Folklore, Cultural Performances, and Popular Entertainments: A Communications-centered Handbook, edited by Richard Bauman New York: Oxford University Press.
Lefebvre, H. (1971). Everyday Life in the Modern World. Rabinovitch, S., Trans., London: Allen Lane.
Lévi-Strauss, C. (1983). The Raw and the Cooked: Mythologiques, 1 (1). Chicago: University of Chicago Press.
Scholliers Peter. (2001). Food, Drink and Identity: Cooking, Eating and Drinking in Europe since the Middle Ages. New York: Berg Publishers.
Simoons, Frederick J. 1961. “Introduction.” in Eat Not This Flesh: Food Avoidances in the Old World, 3-6. Madison: The University of Wisconsin Press.
Van Esterik, Penny. (2008). Food Culture in Southeast Asia. Westport: Greenwood Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทัศนะ ข้อคิดเห็น ภาพที่ปรากฏ ในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน บรรณาธิการและกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย และไม่ถือเป็นความรับผิดชอบ ลิขสิทธิ์เป็นของผู้เขียนและวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การตีพิมพ์ชื่อต้องได้รับอนุญาตจากผู้เขียน และวิทยาลัยสหวิทยาการโดยตรง และเป็นลายลักษณ์อักษร