ความสอดคล้องของนโยบายประเทศไทยต่อแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19

ผู้แต่ง

  • ปิยชัย นาคอ่อน นักวิจัยยุทธศาสตร์เชิงรุก สำนักงานบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

นโยบาย, โควิด, การพัฒนาที่ยั่งยืน, โครงสร้างสังคม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความสอดคล้องของนโยบายประเทศไทยต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผ่านการวิเคราะห์เอกสารและนโยบายของไทยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนในช่วงการ   แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 โดยแบ่งนโยบายออกเป็น 5 หัวข้อ ได้แก่ 1) การจัดการฝุ่นและมลภาวะ ต่าง ๆ 2) การจัดการการค้ามนุษย์ 3) นโยบายสวัสดิการและการกระตุ้นเศรษฐกิจ 4) การจัดการเมืองและ การวางโครงสร้างพื้นฐาน และ 5) การจัดการโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ผลการศึกษาพบว่า นโยบายของไทยได้บรรจุแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนเอาไว้เป็นแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยผสมผสานเข้ากับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้การนำมาปฏิบัตินั้นยังไม่สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนเนื่องจากเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ปลายเหตุ กล่าวคือ 1) การจัดการฝุ่นและมลภาวะโดยการใช้น้ำพ่นเพื่อลดฝุ่น ควบคุมปริมาณรถยนต์ รถสาธารณะ 2) การจัดการการค้ามนุษย์ไม่ได้มีความเข้มงวดหรือจริงจังมากขึ้น 3) สวัสดิการที่ได้รับไม่ทั่วถึงทุกคน 4) การจัดวางผังเมืองที่ปรับปรุงทัศนียภาพแต่ขาดการปรับปรุงเรื่องผังเมือง และ 5) การจัดการเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่มุ่งแก้ปัญหาเศรษฐกิจมากกว่าการควบคุมโรค ด้วยเหตุที่การดำเนินนโยบายเหล่านั้นอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 จึงทำให้ต้องดำเนินนโยบายในลักษณะที่เร่งด่วนมากกว่าดำเนินการอย่างมั่นคงยั่งยืน ข้อเสนอแนะคือควรมีการดำเนินนโยบายอย่างจริงจังและต่อเนื่องมากขึ้นเพื่อตอบโจทย์ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

References

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2017). ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัยระยะ 20 ปี. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

กุลธิดา สามะพุทธิ และ ราชพล เหรียญศิริ. (2020). โควิด-19: กรมควบคุมมลพิษเสนอ "ทำงานที่บ้าน" ระยะยาวหลังพบคุณภาพอากาศกรุงเทพฯดีขึ้น. สืบค้นจาก HTTPS://WWW.BBC.COM/THAI/THAILAND-52757762

ดารณี เสือแย๊ะ. (2019). ผู้นำการบริหารจัดการเมืองรุ่นใหม่: กรณีศึกษา คลองซองเกซอนเกาหลีใต้. สืบค้นจาก http://www.furd.in.th/cities/world-cities-reviews/view/46j5wvvewGNd/

นงลักษณ์ สุขวานิชย์ศิลป์. (2021). ข้อมูลเปรียบเทียบวัคซีนโควิด-19 ที่องค์การอนามัยโลกรับรอง. สืบค้นจาก https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/service-knowledge-article-info-old.php?id=577

บุญเลิศ วิเศษปรีชา. (2019). ผ่ายุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัย 20 ปี: ฝันใหญ่ แต่ไม่สรุปบทเรียน. สืบค้นจาก https://waymagazine.org/land-and-right-housing-1/

ปรียานุช ธรรมปิยา. (2019). สืบสานสู่ปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ส.พิจิตรการพิมพ์ จำกัด.

โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล. (มปป). ฝุ่น PM 2.5 ภัยร้ายใกล้ตัวเรา. สืบค้นจาก https://theworldmedicalcenter.com/th/new_site/health_article/detail/?page=%E0%B8%9D%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99-pm-25-%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B2

วิทยา ดวงธิมา และ ปรานอม ตันสุขานันท์. (2018). แนวทางการพัฒนาละแวกบ้านและย่านในเมืองเชียงใหม่ วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล, 27 (2018).

สถานทูตสหรัฐประจำประเทศไทย. (2021). รายงานการค้ามนุษย์ประจำปี ค.ศ. 2021. สืบค้นจาก https://th.usembassy.gov/th/our-relationship-th/official-reports-th/2021-trafficking-persons-report-thailand-th/

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. (2019). ร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4). สืบค้นจาก https://asa.or.th/laws/news20191113/

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2020). ยุทธศาสตร์ชาติกับ SDGS. สืบค้นจาก https://sdgs.nesdc.go.th/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A-sdgs/

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2018). นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

สำนักงานเลขานุการศูนย์บัญชาการการป้องกันการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน. (2015). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก https://ccpl.mol.go.th/%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%88%e0%b8%a7%e0%b8%a2%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99/%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%b2

สำนักโฆษก. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2018). จุดเริ่มต้นมาตรการสวัสดิการแห่งรัฐ นวัตกรรมเพื่อ แก้ปัญหาความยากจน. ไทยคู่ฟ้า (7).

อลงกรณ์ ฉลาดสุข. (2021). คำถามต่อการเปิดประเทศและข้อเสนอแนะต่อมาตรการที่เกี่ยวกับแรงงาน. สืบค้นจาก HTTPS://TDRI.OR.TH/2021/11/QUESTIONS-ABOUT-REOPENING-THE-COUNTRY/

PlusNews. (2019) LPN เปิดปฏิบัติการค้ามนุษย์ ช่วยเหลือลูกเรือประมงในอินโดนีเซีย. สืบค้นจาก

https://ch3plus.com/news/social/3mitinews/155288

BBC THAI. (2021). วัคซีนโควิด: โครงการโคแวกซ์ (COVAX) ที่จะจัดวัคซีนให้กว่า 180 ประเทศคืออะไร ทำไมไทยไม่เข้าร่วม. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/international-55879187

SDG Goal Knowledge Platform. (2021). Voluntary National Review 2021. Retrieved from https://sustainabledevelopment.un.org/index.php?page=view&type=30022&nr=2457&menu=3170

SDG MOVE. (2021). ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ SDGs. สืบค้นจาก https://www.sdgmove.com/intro-to-sdgs/

SDG MOVE. (2021). ความเป็นมาของ SDG. สืบค้นจาก https://www.sdgmove.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-sdgs/#:~:text=%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B8%99,2030)%E0%B8%89%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AA

United Nations (UNDSEA). (2018). The 17 Goals. Retrieved from https://sdgs.un.org/goals

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30