การประเมินการทำงานแอไจล์ในบริบทอุตสาหกรรม 4.0: กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการผลิต
แอไจล์ อุตสาหกรรม 4.0 ตัวแบบประเมินวุฒิภาวะ อุปสรรคแอไจล์ แบบประเมิน
คำสำคัญ:
Agile, Industry 4.0, Maturity Model, Agile challengesบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะวุฒิภาวะแอไจล์ในบริบทอุตสาหกรรม 4.0 ของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล และ 2) ศึกษาอุปสรรคการพัฒนาแอไจล์ในบริบทอุตสาหกรรม 4.0 ของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ด้วยเครื่องมือตัวแบบประเมินวุฒิภาวะแอไจล์ในบริบทอุตสาหกรรม 4.0 ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยผู้วิจัยจากการทบทวนวรรณกรรมและสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญโดยการสัมภาษณ์กลุ่ม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือกลุ่มทำงานแอไจล์ในบริษัทที่อยู่ในบริบทอุตสาหกรรม 4.0 โดยผู้วิจัยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเลือกคุณสมบัติที่เหมาะสม จากการประเมินผล พบว่าลักษณะวุฒิภาวะแอไจล์ทั้ง 3 กลุ่มแอไจล์มีความแตกต่างกัน และพบอุปสรรคในการพัฒนาแอไจล์ในเรื่อง การขาดการสนับสนุนจากองค์กร การขาดการติดตามงาน การขาดการใช้เทคโนโลยีบางประเภท และอุปสรรคการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
References
Alaidaros, H., Omar, M., & Romli, R. (2021). The state of the art of agile kanban method: Challenges and opportunities. Independent Journal of Management & Production, 12(8), 2535–2550. https://doi.org/10.14807/ijmp.v12i8.1482
Bagaskara, R. M., & Sampe, V. (2021). A Study at Volvo Car Corporation.
Fowler, M., & Highsmith, J. (2001). The agile manifesto. Software Development, 9(8), 28–35.
Ghobakhloo, M. (2020). Industry 4.0, digitization, and opportunities for sustainability. Journal of Cleaner Production, 252, 119869. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2019.119869
Ozcan-Top, O., & Demirörs, O. (2013). Assessment of agile maturity models: A multiple case study. Software Process Improvement and Capability Determination: 13th International Conference, SPICE 2013, Bremen, Germany, June 4-6, 2013. Proceedings 13, 130–141.
Saucedo-Martínez, J. A., Pérez-Lara, M., Marmolejo-Saucedo, J. A., Salais-Fierro, T. E., & Vasant, P. (2018). Industry 4.0 framework for management and operations: A review. Journal of Ambient Intelligence and Humanized Computing, 9(3), 789–801. https://doi.org/10.1007/s12652-017-0533-1
Scaled Agile Inc. (2023). SAFe 6.0 Framework. Scaled Agile Framework. Retrieved from https://scaledagileframework.com/
Schumacher, A., Nemeth, T., & Sihn, W. (2019). Roadmapping towards industrial digitalization based on an Industry 4.0 maturity model for manufacturing enterprises. Procedia Cirp, 79, 409–414.
Schwaber, K. (1997). SCRUM Development Process. In J. Sutherland, C. Casanave, J. Miller, P. Patel, & G. Hollowell (Eds.), Business Object Design and Implementation (pp. 117–134). London: Springer. Retrieved from https://doi.org/10.1007/978-1-4471-0947-1_11
Sidky, A., Arthur, J., & Bohner, S. (2007). A disciplined approach to adopting agile practices: The agile adoption framework. Innovations in Systems and Software Engineering, 3(3), 203–216. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s11334-007-0026-z
Stojanov, I., Turetken, O., & Trienekens, J. J. M. (2015). A Maturity Model for Scaling Agile Development. 2015 41st Euromicro Conference on Software Engineering and Advanced Applications, (pp. 446–453). Retrieved from https://doi.org/10.1109/SEAA.2015.29
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทัศนะ ข้อคิดเห็น ภาพที่ปรากฏ ในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน บรรณาธิการและกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย และไม่ถือเป็นความรับผิดชอบ ลิขสิทธิ์เป็นของผู้เขียนและวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การตีพิมพ์ชื่อต้องได้รับอนุญาตจากผู้เขียน และวิทยาลัยสหวิทยาการโดยตรง และเป็นลายลักษณ์อักษร