การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย สำหรับนักศึกษาเมียนมา ระดับปริญญาตรีสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา; THE DEVELOPMENT OF ELECTRONIC BOOK ENTITLED THAI ALPHABET AND VOWELS FOR MYANMAR STUDENTS IN THAI MAJOR IN YANGON UNIVERSITY OF FOREIGN LANGUAGES MYANMAR

Main Article Content

ออนมา ออง (Ohnmar Aung)
กอบสุข คงมนัส (Kobsook Kongmanus)

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย สำหรับนักศึกษาเมียนมา 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาเมียนมาที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาเมียนมาที่มีต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาเมียนมา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา จำนวน 30 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัย ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องพยัญชนะและสระภาษาไทย แบบประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย สำหรับนักศึกษาเมียนมา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาที่พัฒนาขึ้น 1.1) รูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นแบบมัลติมีเดีย ประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนเนื้อหาเรื่องพยัญชนะและสระภาษาไทย จำนวน 10 หน่วย 2) ส่วนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) ส่วนเชื่อมโยงข้อมูลแบบปฏิสัมพันธ์ 4) ส่วนกราฟิกและภาพ 5) ส่วนเสียงบรรยายและเสียงดนตรี 6) คู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย 1.2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย มีคุณภาพในภาพรวมด้านเนื้อหาอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.04, S.D.=0.32) และมีคุณภาพในภาพรวมด้านการออกแบบอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.06, S.D.=0.31) 2) นักศึกษาเมียนมา มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพยัญชนะและสระภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักศึกษาเมียนมา มีความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทยอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.31, S.D.= 0.61)


THE DEVELOPMENT OF ELECTRONIC BOOK ENTITLED THAI ALPHABET AND VOWELS FOR MYANMAR STUDENTS IN THAI MAJOR IN YANGON UNIVERSITY OF FOREIGN LANGUAGES MYANMAR


The purposes of this research were: 1) to develop Electronic Book Entitled Thai Alphabet and Vowels for Myanmar Students in Thai Major in Yangon University of Foreign Languages Myanmar, 2) to compare learning achievement of the students between pretest and posttest scores after learning with an Electronic Book and 3) to study the satisfaction of the students who learned with an Electronic Book on Entitled Thai Alphabet and Vowels. The sample of this research consisted of 30 students selected from students in Thai Major in Yangon University of Foreign Languages Myanmar attending first semester of the academic year of 2015 and obtained by using the purposive sampling techniques. The instruments were Electronic Book Entitled Thai Alphabet and Vowels, quality assessment form, pretest-posttest and questionnaire. The statistic used to analyze the data were mean, standard division and t-test dependent. The results found that 1) Electronic Book Entitled Thai Alphabet and Vowels for Myanmar Students in Thai Major in Yangon University of Foreign Languages Myanmar 1.1) Electronic Book is Multimedia e-Book type consisted of 6 parts; 1) contents of Thai Alphabet and Vowels 10 units, 2) achievement test, 3) interaction link, 4) graphic and pictures, 5) narrative voice and music, and 6) Electronic Book Entitled Thai Alphabet and Vowels manuals, and 1.2) the quality of the contents and design on the Electronic Book Entitled Thai Alphabet and Vowels for Myanmar Students in Thai Major were most suitable on high level (gif.latex?\bar{x} = 4.04, S.D. = 0.32) and (gif.latex?\bar{x} = 4.06, S.D. = 0.31). 2) Myanmar students achievement had posttest scores statistical significant at .05 level higher than pretest scores. And 3) the satisfaction of Myanmar students after studied towards Electronic Book Entitled Thai Alphabet and Vowels for Myanmar Students in Thai Major in Yangon University of Foreign Languages were totally high level (gif.latex?\bar{x} = 4.31, S.D. = 0.61).

Article Details

How to Cite
(Ohnmar Aung) อ. อ., & (Kobsook Kongmanus) ก. ค. (2018). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง พยัญชนะและสระภาษาไทย สำหรับนักศึกษาเมียนมา ระดับปริญญาตรีสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา; THE DEVELOPMENT OF ELECTRONIC BOOK ENTITLED THAI ALPHABET AND VOWELS FOR MYANMAR STUDENTS IN THAI MAJOR IN YANGON UNIVERSITY OF FOREIGN LANGUAGES MYANMAR. Journal of Education and Innovation, 20(4), 266–278. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/147546
Section
Research Articles

References

Barker, Philip. (1992). Electronic books and libraries of the future. The Electronic Library, 139-149.
Laohajaratsang, T. (1999). Computer assisted instruction. Bangkok: Chongkamon Production. (in Thai)
Lueyod, P. (2011). The development of electronic book entitled of on Thai final consonant for Prathomsuksa 4 students Donwyai School (Nakornwai Prasart) (Independent Study). Phitsanulok: Naresuan University. (in Thai)
Malaiwong, K. (1997). Technological innovations of the decade 2000: IT perspective. Bangkok: SE-EDucation. (in Thai)
Panbud, J. (2014). The development of electronic book to develop reading skills Thai language for Prothomsuksa 6 students Bannongked School. Veridian E-Journal, 7(3), 175-190. (in Thai)
Ratsameeporm, W. (1999). Design and development of teaching. Bangkok: Srinakharinwirot University Press. (in Thai)
Yangnok, A. (2006). Development of an electronic book on communicative English (Master thesis). Bangkok: Kasetsart University. (in Thai)