การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย THE DEVELOPMENT OF UBIQUITOUS LEARNING MANAGEMENT SYSTEM USING IMAGINEERING ON CONSTRUCTION OF MULTIMEDIA

Main Article Content

ปัณณทัต จำปากุล
สุวรรณา อินทร์น้อย
กาญจนา บุญภักดิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย และ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย ซึ่งพัฒนาตามกระบวนการของวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) 5 ขั้นตอน ประกอบด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การพัฒนาระบบการทดสอบระบบ และการนำไปใช้ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านเนื้อหา จำนวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ จำนวน 3 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย และแบบประเมินคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วย
จินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (gif.latex?\bar{x}) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย พบว่า 1) ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย ประกอบด้วย 3 โมดูล ได้แก่ โมดูลผู้เรียน (Learner) โมดูลผู้สอน (Instructor) และโมดูลผู้ดูแลระบบ (Administrator) และ 2) ผลการประเมินคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย ด้านเนื้อหา มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.91, S.D. = 0.29) และด้านการออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.46, S.D. = 0.50)

Article Details

How to Cite
จำปากุล ป., อินทร์น้อย ส., & บุญภักดิ์ ก. (2020). การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรม เรื่อง การสร้างงานมัลติมีเดีย: THE DEVELOPMENT OF UBIQUITOUS LEARNING MANAGEMENT SYSTEM USING IMAGINEERING ON CONSTRUCTION OF MULTIMEDIA. Journal of Education and Innovation, 23(3), 175–189. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/234191
บท
บทความวิจัย

References

Best, J. W., & Kahn, J. V. (1993). Research in education (7th ed.). Boston: Allyn and Bacon.

Chatwattana, P., & Nilsook, P. (2017). A web-based learning system using project-based learning and imagineering. International Journal of Emerging Technologies in Learning, 12(5), p. 4-22.

Klaisang, J. (2018). Ubiquitous technology enhanced learning: The outcome-based learning design for 21st century learners. Bangkok: Faculty of Education, Chulalongkorn University. [in Thai]

Kongmanus, K. (2018). Digital learning tools: Ways of digital education era. Journal of Education Naresuan University, 20(4), 279-290. [in Thai]

Laisema, S. (2014). Ubiquitous learning environment-based virtual collaborative learning system for creative problem solving to enhance creative thinking and collaboration skills (Doctoral dissertation). Bangkok: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Laisema, S., Wannapiroon, P., & Nilsook, P. (2015). Ubiquitous collaborative virtual teams learning management system. In Proceedings of the 29th National Conference on Educational Technology (pp. 45-51). Bangkok: King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. [in Thai]

Nilsook, P., & Wannapiroon, P. (2013). Imagineering. Journal of Technical Education Development, 25(86), 33-37. [in Thai]

Office of the Education Council. (2012). The development of characteristics in the new generation of learners to respond to the educational reformation in the 2nd decade by integrating ICT in the project-based in instructional management. Bangkok: Office of the Education Council. [in Thai]

Partnership for 21st Century Skills (2009). A framework for twenty-first century learning. Retrieved from http://www.p21.org/

Phumeechanya N., Wannapiroon, P., & Nilsook, P. (2015). Ubiquitous scaffolding learning management system. In Proceedings of the 29th National Conference on Educational Technology (pp. 28-35). Bangkok: King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. [in Thai]

Riojas, M., Lysecky, S., & Rozenblit, J. (2012). Educational technologies for precollege engineering education. IEEE Transactions on Learning Technologies, 5(1), 20-37.

Thammametha, T. (2014). e-Learning: from theory to practice. Bangkok: Thailand Cyber University. [in Thai]

Yahya, S., Ahmad, E., & Jalil, K. (2010). The definition and characteristics of ubiquitous learning: A discussion. International Journal of Education and Development using Information and Communication Technology, 6(1), 117-127.