รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับครูยุคใหม่สร้างเด็กไทย 4.0 สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 THE INTEGRATED INTERDISCIPLINARY LEARNING MANAGEMENT MODEL FOR NEW GENERATION TEACHERS IN DEVELOPING THAI CHILDREN IN THE 4.0 ERA FOR STUDENTS IN GRADE 4-6

Main Article Content

ณิชารีย์ ป้อมสัมฤทธิ์
สิริพร ปาณาวงษ์
สุชาดา ตั้งศิรินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องรูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับครูยุคใหม่สร้างเด็กไทย 4.0 สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการ สหวิชาการสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 2) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 และ 3) เพื่อประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ดำเนินการวิจัย ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ โดยรับสมัครครูเพื่อเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ และร่วมกันพัฒนารูปแบบฯ จำนวน 10 คน และประเมินคุณภาพรูปแบบฯ ระยะที่ 2 การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จำนวน 28 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม ใช้เวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ และระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ ด้วยการประยุกต์ใช้เกณฑ์มาตรฐานการประเมินทางการศึกษาของ The Joint Committee on Standards for Education Evaluation โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ได้พัฒนาหน่วย Animation โดยใช้เทคนิคปัญหาเป็นฐาน จำนวน 60 ชั่วโมง มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด 2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการมีมาตรฐานการประเมินอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
ป้อมสัมฤทธิ์ ณ. . ., ปาณาวงษ์ ส., & ตั้งศิรินทร์ ส. . . (2021). รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับครูยุคใหม่สร้างเด็กไทย 4.0 สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2: THE INTEGRATED INTERDISCIPLINARY LEARNING MANAGEMENT MODEL FOR NEW GENERATION TEACHERS IN DEVELOPING THAI CHILDREN IN THE 4.0 ERA FOR STUDENTS IN GRADE 4-6. Journal of Education and Innovation, 25(2), 165–173. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/245338
บท
บทความวิจัย

References

Bunyaklump, S. (2003). Guideline for management of integrated student centered learning plans. Bangkok: Modern Academic Centre. [in Thai]

Charoenwongsak, K. (2007). Bangkok healthy city (2nd ed.). Bangkok: Success Media. [in Thai]

Heakrathok, W. (2013). The development of the problem solving skill and science achievement using problem based learning on electrical circuit of prathomsuksa 6 (Master thesis). Maha Sarakham: Mahasarakham University. [in Thai]

Jareonsettasin, T. (2018). Thai Education 4.0: In the Context of Educational Management for Sustainable Development. Bangkok: Vayupak Convention Center, Centra by Centara Government Complex Hotel Chaeng Watthana. [in Thai]

Jittriprasert, C. (2000). Develop quality with creativity (2nd ed.). Nonthaburi: Healthcare Accreditation Institute. [in Thai]

Khammani, T. (2012). Science of teaching pedagogy: Knowledge for efficient learning process management (16th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Laowreandee, W. (2013). Science of teaching supervision and coaching: Professional development theory, strategy to practice (12th ed.). Nakhon Pathom: Silpakorn University Printinghouse, Sanam Chandra Palace Campus. [in Thai]

Leary, H. M. (2012). Self-directed learning in problem-based learning versus traditional lecture-based learning: A Meta-analysis (Doctoral dissertation). Utah: Utah State University.

Leman, V., & Burcin, A. (2007). Problem-based learning in an eleventh grade chemistry class: Factors affecting cell potential. Research in Science & Technological Education, 25(3), 351-369. https://doi.org/10.1080/02635140701535299

MCKinley, K. (2012). Using problem based learning and guided inquiry in a high school acid-based chemistry unit (Doctoral dissertation). Michigan: Michigan State University.

Namdech, N. (2015). Comparisons of learning achievement and problem solving in science force and motion science department of matthayomsuksa 3 between using problem-based learning and the conventional approach on addition (Master thesis). Chaiyaphum: Chaiyaphum Rajabhat University. [in Thai]

Panawong, S. (2016). The development of learning activities for moderate class more knowledge by school-based management. Nakhon Sawan: Nakhon Sawan Rajabhat University. [in Thai]

Panawong, S. (2018). Learning measurement and evaluation. Nakhon Sawan: Nakhon Sawan Rajabhat University. [in Thai]

Panawong, S. (2019). Classroom action research. Nakhon Sawan: Nakhon Sawan Rajabhat University. [in Thai]

Poompachati, P. (2009). The development of creative problem solving experience based model for Preschool children (Doctoral dissertation). Nakhon Pathom: Silpakorn University. [in Thai]

Satawut, N. (2004). Learning management which start from learners. Bangkok: Tarnwichakarn. [in Thai]

Wiboonat, T. (2014). Comparisons of creative problem solving and learning achievement of mattayomsueksa 5 students who learned using the problem-based learning with project-based learning a conventional learning approaches (Master thesis). Maha Sarakham: Mahasarakham University. [in Thai]