ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นเพื่อความเข้าใจของนักศึกษากรณีศึกษา: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น ในมหาวิทยาลัยของรัฐ THE FACTORS AFFECTING ON JAPANESE READING COMPREHENSION ABILITY OF JAPANESE MAJOR STUDENTS: CASE STUDY OF 4TH YEAR STUDENTS IN PUBLIC UNIVERSITIES

Main Article Content

คชาภัช หลิมเจริญ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาที่เรียนวิชาภาษาญี่ปุ่น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาที่เรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอก จำนวน 138 คน เครื่องมือที่ใช้ในครั้งนี้ คือแบบสอบถามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นเพื่อความเข้าใจ และแบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านภาษาญี่ปุ่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ทดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ตัวแปรปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีจำนวน 4 ตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยด้านคะแนนเฉลี่ยสะสม ปัจจัยด้านเจตคติที่มีต่อการเรียนภาษาญี่ปุ่น ปัจจัยด้านความสามารถพื้นฐานในการอ่านภาษาญี่ปุ่น และ ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพในการเรียนวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่น โดยทั้ง 4 ตัวแปรสามารถร่วมกันพยากรณ์ความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาได้ร้อยละ 33

Article Details

How to Cite
หลิมเจริญ ค. (2023). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นเพื่อความเข้าใจของนักศึกษากรณีศึกษา: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น ในมหาวิทยาลัยของรัฐ : THE FACTORS AFFECTING ON JAPANESE READING COMPREHENSION ABILITY OF JAPANESE MAJOR STUDENTS: CASE STUDY OF 4TH YEAR STUDENTS IN PUBLIC UNIVERSITIES . Journal of Education and Innovation, 25(2), 93–101. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/247469
บท
บทความวิจัย

References

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitude and predicting social behavior. New Jersey: Prentice-Hall.

Aungtrakul, A. (2020). A comparative study of non-native Japanese learners’ and lecturers’ beliefs in Japanese reading. Journal of Humanities, Naresuan University, 17(1), 73-87. [in Thai]

Bloom, B. S. (1976). Human characteristic and school learning. New York: McGraw –Hill.

Callahan, J. F., & Clark, L. H. (1988). Teaching in the middle and secondary schools (3rd ed.). New York: Macmillan.

Chawengkijwanich, S. (2020). Problems in Japanese to Thai translation: Problems in sentence construction. Journal of Liberal Arts, Thammasat University, 20(1), 40-67. [in Thai]

Klinkesorn, P. (2015). Vocabulary learning strategies for Japanese language learners: A case study of Suan Sunandha Rajabhat University Students. Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University Students. [in Thai]

Kobayashi, K. (2004). Factors affecting phytotoxic activity of allelochemicals in soil. Weed Biology and Management, 4, 1-7. https://doi.org/10.1111/j.1445-6664.2003.00112.x

Mokhtari, K., & Sheorey, R. (2002). Measuring ESL students’ awareness of reading strategies. Journal of Developmental Education, 25(3), 2-11.

Pinnang, A., & Prachanban, P. (2020). Factors affecting being a learning person in the 21st century

of students at Naresuan University. Journal of Education Nareauan University, 22(2), 290-301. [in Thai]

Sawetaiyaram, T. (2010). Use of reading strategies by Thai learners of Japanese at different proficiency level. Japanese Studies Journal, 33(2), 81-96. [in Thai]

Smith, D. F. (1977). Effects of lithium on behavior: Critical analysis of a school of thought. Comprehensive Psychiatry, 18(15), 449–452. https://doi.org/10.1016/0010-440X(77)90043-8

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). New York: Harper & Row.