การประเมินการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

Main Article Content

ศิวิไล ถนอมสวย
สุชาดา นาคฤทธิ์
อรวรรณ หงษ์ทอง

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาเตรียมวิศวกรรมศาสตร์หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธี Cluster Sampling เลือกตัวแทนห้องของแต่ละสาขาวิชา ได้ขนาดตัวอย่าง จำนวน 231 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปร คือ ค่าไคสแควร์ และสถิติที่ใช้ทดสอบความแปรปรวน คือ t – test, One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก สาหรับบุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยในขณะศึกษามีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ในภาพรวมเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักศึกษาในการประเมินการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ 1. ด้านบริบทของหน่วยระบบ/มาตรฐาน การเรียนรู้เรื่องวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการสอนมีความคล้องกับเนื้อหาวิชาอยู่ในระดับมาก 2. ด้านปัจจัยนาเข้าของหน่วยระบบ พบว่า มีความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก 3. ด้านกระบวนการของหน่วยระบบ เช่น การถ่ายทอดความรู้ สื่อการสอน และการเตรียมตัวของผู้สอนมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ ปานกลาง 4. ด้านผลผลิตของหน่วยระบบ เช่น การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ พบว่า นักศึกษาสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพอยู่ในระดับมาก สาหรับมูลเหตุจูงใจที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนหลักสูตรเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ คือ ด้านชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย อาจารย์ผู้สอนมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี ด้านการประกอบอาชีพโดยมีความเชื่อมั่นว่าจะมีงานทาที่มั่นคงเมื่อสาเร็จการศึกษา

คำสำคัญ : การประเมินการเรียนการสอน, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์, ซิพพ์โมเดล

 

Abstract

The research objective is to evaluate the learning and teaching mathematics of Pre-engineering program students, Curriculum of Vocational Certificate, 2nd year class, by taking a random sample, using the means of Cluster Sampling to select the room representative of each major and has obtained the sample size of 231 students. The instrument used is a questionnaire, analysis and data process by computer. Statistics used are percentage, average, math, and standard deviation. Statistic used in testing the relation between two variables is chi-square and the statistic used in testing variance are t-test, and One-way ANOVA. The research result is found that the personal factor does not have educational achievement of student and the student has basic knowledge relating to mathematics at a high level. For dependent person while studying has learning achievement of student. In general imagination related to opinion of student in evaluation of learning and teaching of mathematics: 1. On system unit context/learning standards on objectives of teaching curriculum harmonized with essentials is at a high level. 2. On input factors of system unit, it is found that the suitability of environment at educational places is at a high level. 3. On system unit process such as transfer of knowledge, teaching media and teacher’s preparation are at a moderate level. 4. On productivity of system unit such as application of knowledge is found that the student can apply the knowledge for further education and to carry on an occupation at a high level. For inducement that has an influence on decision-making in the selection to learn Pre-engineering program is reputation of university. Lecturers have good knowledge and ability. On carrying on an occupation, such students firmly believe that having finished education, they will get secure jobs.

Key words : Evaluation of learning and teaching, Achievement of mathematics learning, CIPP Model

Article Details

How to Cite
ถนอมสวย ศ., นาคฤทธิ์ ส., & หงษ์ทอง อ. (2013). การประเมินการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. Journal of Education and Innovation, 12(2), 1–16. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/9239
Section
Research Articles