สินทรัพย์ที่ไม่สามารถจับต้องได้แต่จัดการได้ที่เรียกว่า “ปัญญา”

Main Article Content

กฤติยา อริยา
อมรรัตน์ วัฒนาธร

Abstract

บทคัดย่อ

บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของคนหรือมนุษย์ ในฐานะเป็นต้นทุนทางสังคมในการพัฒนาทุกๆด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาสู่สังคมที่มั่นคงและยั่งยืนยุคศตวรรษที่ 21 นี้ ซึ่งเป็นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา การศึกษาอันเป็นกลไกหลักในการพัฒนาคนจึงจำเป็นต้องเร่งสร้างคนให้มีปัญญารู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในลักษณะของการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ซึ่งผู้เรียนจะเรียนรู้จากจิตของตนเองจนเกิดปัญญาด้วยการใคร่ครวญสรรพสิ่งที่อยู่รอบตัว รวมถึงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นภายในตัวเอง ด้วยการเอาใจใส่ การแบ่งปัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสข การศึกษาดังกล่าวนี้จะส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนและสร้างสังคมให้ยั่งยืนได้

 

Abstract

The article indicates the importance of human being as social capital for every aspect of development, especially for endurable sustainable development. The 21st Era represents rapid and continuous change society of which education is needed to use as a main mechanism of human development. Intellectual wisdom seen through the change with transformative learning, learners learn from their own minds. They could thoroughly understand it through reflection, surroundings including their inner sense. With caring, sharing and peacefully living together, this type of learning could promote the quality of learning and also create sustainable society.

Article Details

How to Cite
อริยา ก., & วัฒนาธร อ. (2013). สินทรัพย์ที่ไม่สามารถจับต้องได้แต่จัดการได้ที่เรียกว่า “ปัญญา”. Journal of Education and Innovation, 13(3), 213–224. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/9405
Section
Full Issue