เสน่ห์ปลายจวัก ผัว (ฝรัง) รัก ผัว (ฝรัง) หลง: การปรุงแต่งตัวตนของผู้หญิงไทยในวิถีการดำเนินชีวิตคู่ต่างวัฒนธรรม The Way to a Man’s Heart Is through His Stomach: a Self-Creation Enrichment of Thai Women in the Cross-Cultural Marriage
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการให้ความหมายและกระบวนการ สร้างตัวตนของภรรยาฝรั่ง กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้หญิงไทยที่แต่งงานกับชาวตะวันตก จำนวน 13 คน การวิจัยนี้เป็นวิธีการวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยาแบบเฮอร์เมนิวติกซ์หรือการตีความของมาร์ติน ไฮเดกเกอร์ ผลการวิจัย พบว่า หลังจากที่ผู้ให้ข้อมูลได้เข้าไปสู่โลกของการแต่งงานกับชาวตะวันตก พวกเธอได้สร้างความเข้าใจใหม่ (New-understanding) เพื่อให้ตนเองสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ภายหลังการแต่งงาน ความเข้าใจใหม่ของภรรยาฝรั่งดังกล่าว แสดงออกมาในรูปของการสร้างตัวตนใหม่ซึ่งเป็นผลมาจากการเรียนรู้ และการหล่อหลอมประสบการณ์ที่ได้จากวิถีการดำเนินชีวิตในครอบครัวต่างวัฒนธรรม การสร้างตัวตนใหม่ดังกล่าว ได้แก่ 1) การปรุงแต่งตัวตนด้านการทำอาหาร หรือ “เสน่ห์ปลายจวัก” ตามคุณสมบัติ “แม่ศรีเรือน” ที่ดีในวัฒนธรรมไทย 2) การใช้ “ครัว” เป็นพื้นที่สานสัมพันธ์ท่ามกลางความแตกต่างทางวัฒนธรรมในครอบครัว
This research aimed to study and to understand the definition and the process of self-creation of foreigner’s wives. The samples of the research, which were purposively and snow ball selected, included 13 Thai female informants. These informants were married to westerners, aged between 20-60 years, and had been married with or without a marriage certification at least 2 years and Chon Buri census registration was required. This research was a qualitative research using the Hermeneutic Phenomenology of Martin Heidegger.
The findings showed that after entering into a new world by getting married with the Westerners, the informants established their new-understanding to be able to survive. The new understanding of the foreigners’ wives was expressed in the form of new self-creation as a resulting from their learning and experiences from the cross-cultural marriage. This new self-creation includes: 1) cooking as a self-creation enrichment or “having ideology of domesticity” based on a characteristic of “ideal housewife” in Thai culture. 2) using a “kitchen” as a space to create a relationship among different cultures in the family.
Downloads
Article Details
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาเท่านั้น
References
คอนนิ่ง, ดิก เดอ. (2557). บทบาทของชายหญิงในครอบครัว. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 27 มิถุนายน 2559, เข้าถึงได้จาก
www.thaifamilylink.net/web/node/11
จันทร์ไชยลือ ป่ายีจั้วลือมัน. (2556). การแต่งงานข้ามชาติระหว่างม้งในลาวและในสหรัฐอเมริกา: ความหมายและกระบวนการ.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาชาติพันธุ์ สัมพันธ์และการพัฒนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จินดา ศรีรัตนบุญ. (2553). เยอรมันมองหญิงไทย: ภาพแทนหญิงไทยในงานเขียนเยอรมันร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎี
บัณฑิต, สาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จินตนาถ กลัดวัง. (2545). การสร้างความหมาย “ครัว” ในนิตยสารครัวและนิตยสารแม่บ้าน. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาวารสารสนเทศ, คณะนิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2550). อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลง. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 15 กรกฎาคม 2559, เข้าถึงได้จาก
https://static1.squarespace.com/static/52bce94ae4b013dbd6fc79d4/t/557946f6e4b0b454e5bfd1db/1434011382421/20_อัตลักษณ์+วัฒนธรรม+การเปลี่ยนแปลง.pdf
ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. (2543). ปีศาจชื่อ “Feminism”: ที่ทางของสตรีนิยมในสังคมไทย”. ใน การประชุมวิชาการประจำปีสตรี
ศึกษาครั้งที่ 2 (ไม่ปรากฎเลขหน้า). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฐิตินบ โกมลนิมิ. (ม.ป.ป.). “แม่ค้า” พูด “ข้าวแกง” เล่า (หน้า 14-24). ใน มองผู้หญิงกับอาหาร ผ่านมุมมองสตรีนิยม. กรุงเทพฯ: กลุ่มสตรีศึกษาอิสระ มธ.
บุญยงค์ เกศเทศ. (2532). สถานภาพสตรีไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ปกรณ์ สิงห์สุริยา, คงกฤช ไตรยวงศ์ และรชฎ สาตราวุธ. (2556). เรื่องเล่า อัตลักษณ์ และความยุติธรรมในปรัชญาของปอล ริเกอร์. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
ปณิธี สุขสมบูรณ์. (2554). เพศภาวะและเพศวิถีข้ามวัฒนธรรม กรณีศึกษาการย้ายถิ่นและการแต่งงานข้ามวัฒนธรรมของผู้หญิงไทย
กับสามีชาวตะวันตกในสังคมปัจจุบัน. วารสารเพศวิถีศึกษา, 1(1), หน้า 109-134.
ประภัสสร สุขสวัสดิ์. (2550). ตัวตนของเมียฝรั่งในสังคมกึ่งเมืองที่ชนบทอีสาน : กรณีศึกษา เมียฝรั่งในชุมชนเทศบาลหนองหาน
จังหวัดอุดรธานี. อุดรธานี: การศึกษาอิสระศิลปศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชาการพัฒนาสังคม, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี.
ปรานี วงษ์เทศ. (2559). เพศและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: นาตาแฮก.
พริบพันดาว. (2558, 22 เมษายน). เสน่ห์ปลายจวักในยุคสมัยที่แปรเปลี่ยน. โพสต์ทูเดย์, หน้า M8-M9.
พัชรินทร์ ลาภานันท์, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และเยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2549). การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม: การศึกษาสถานภาพองค์ความรู้. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขงคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น.
พันธ์ทิพย์ คุณารัตนกุล. (2554). สาวไทยหัวใจฝรั่ง อมรมความรู้ กม. ใช้ชีวิตคู่. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 13 มกราคม 2558, เข้าถึงได้จาก https://th.pattayadailynews.com/สาวไทยหัวใจฝรั่ง-อมรมความรู้-กม-ใช้ชีวิตคู่.
รัตนา บุญมัธยะ. (2548). ภรรยาฝรั่ง : ผู้หญิงอีสานกับการแต่งงานข้ามวัฒนธรรม. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 1(2), หน้า 1-15.
รุ่งทิพย์ ดารายนตร์. (2551). ประสบการณ์ของผู้ป่วยที่มีความยากลำบากในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วารุณี ภูริสินสิทธิ์. (2545). สตรีนิยม: ขบวนการและแนวคิดทางสังคมแห่งศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2549). การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมของผู้หญิงชนบทไทยจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาสังคม
วิทยา, โครงการปรัชญาดุษฏีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สาวิตตา บุญนำบารมี. (2556). หญิงไทยแต่งงานกับชาวต่างชาติ พื้นที่ อำเภอปง จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต ,
สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Diekelmann. N.L. (1992). Learning-as-testing: A Heideggerian Hermeneutical Analysis of the Lived Experiences of
Students and Teachers in Nursing. Advances in Nursing Science, 14(3), pp. 72-83.
Heidegger, M. (1962). Being and Time. New Haven, CT: Yale University Press.
กรรณิการ์. (2558, 21 เมษายน). สัมภาษณ์.
จามจุรี. (2558, 15 ตุลาคม). สัมภาษณ์.
บัวสวรรค์. (2557, 30 พฤษภาคม). สัมภาษณ์.
บุหงา. (2558, 9 กันยายน). สัมภาษณ์.
พวงชมพู. (2558, 3 ตุลาคม). สัมภาษณ์.
สร้อยฟ้า. (2558, 10 ตุลาคม, 26 กันยายน 2559). สัมภาษณ์.