การศึกษาปัจจัยของนิสิตมหาวิทยาลัยในการสวมหมวกนิรภัย

Main Article Content

กมลชนก เศรษฐบุตร

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยของนิสิตมหาวิทยาลัยที่มีต่อการสวมหมวกนิรภัย กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 1,200 คน ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ แบบสอบถามประกอบไปด้วยคำถามเรื่องปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอกและปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและพฤติกรรมในการสวมหมวกนิรภัย ผลการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มตัวอย่างสวมหมวกนิรภัยเพียง ร้อยละ 57.7 แม้จะเห็นด้วยว่ากฎหมายหมวกนิรภัยมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ขับขี่ และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ หมวกนิรภัยช่วยลดอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์และนโยบายการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย 100% ในมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งที่ดี โดยปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย ยิ่งไปกว่านั้น ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอกและปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมในการสวมหมวกนิรภัยทั้งสิ้น

Downloads

Article Details

บท
บทความ

References

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, กระทรวงมหาดไทย. (2559). สถิติอุบัติเหตุช่วงเทศกาล. วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กันยายน 2559, จาก https://www.roadsafetythailand.com

กาญจน์กรอง สุอังคะ. (2558). การศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของวัยรุ่นที่มีผลต่อความเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ขจรศักดิ์ จันทร์พาณิชย์, พรสุข หุ่นนิรันดร์, และพวงชมพู โจนส์. (2558). การศึกษาพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมทางการตลาดเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยในเด็ก โดยประยุกต์ใช้การตลาดเชิงสังคม. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2, (หน้า 92101). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.

คนพันธุ์ N. (15 มกราคม 2561). ทัศนคติ ความหมายและความสำคัญ. วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กันยายน 2559, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/634487

ชีติพัทธ์ ขอนพิกุล,นภดล กรประเสริฐ, และปรีดา พิชยาพันธ์. (2558, กรกฎาคม). การเปรียบเทียบทัศนคติและพฤติกรรมด้าน ความปลอดภัยสำหรับผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในมหาวิทยาลัย. ใน การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, การประชุม
จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ชลบุรี.

ทวีศักดิ์ นพเกษร. (2551). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ: คู่มือปฏิบัติการวิจัยประยุกต์เพื่อพัฒนาคน องค์กร ชุมชน สังคม (พิมพ์ครั้งที่ 2).
พิษณุโลก : ชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย.

บรรจง พลไชย. (2557). การรับรู้ประโยชน์ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยนครพนม.
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(11), 78-88.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2526). ทัศนคติ: การวัดการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

วัฒนวงศ์ รัตนวราห. (2557) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสวมใส่หมวกนิรภัยโดยใช้สมการโครงสร้างพื้นฐานทฤษฎีแบบแผน
ความเชื่อด้านสุขภาพในสังคมเมืองและชนบท (รายงานการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ศิวาภรณ์ ศรีสกุล. (2558). ผลของการสร้างแรงจูงใจเพื่อการปกป้องสุขภาพต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาตอนปลาย อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์พยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน,
คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจร่วมมวลชนลดอาชญากรรม. (2555). เกี่ยวกับตมอ. วันที่ค้นข้อมูล 14 กันยายน 2559, จาก
https://buupol.buu.ac.th/

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2554). มติคณะรัฐมนตรี. วันที่ค้นข้อมูล 14 กันยายน 2559, จาก https://www.cabinet.thaigov.go.th/

สิทธิพร กลั่นวารี. (2557). ประสิทธิผลนโยบายการขับขี่ปลอดภัย จากการรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยในเขตท้องที่สถานี
ตำรวจนครบาลดอนเมือง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร.

อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2554). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ (พิมพ์ครั้งที่ 6 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

Eagly, A. H., and Chaiken, S. (1998). Attitude structure and function. In D. T. Gilbert, S. T. Fiske, & G. Lindzey (Eds.),
The handbook of social psychology (pp. 269-322). New York: McGraw-Hill.

Forehand, M. (2005). Bloom's taxonomy: Original and revised. In M. Orey (Ed.), Emerging perspectives on learning,
teaching, and technology. Retrieved October 2017, from https://projects.coe.uga.edu/epltt/

Harasim, L. (2017). Learning Theory and Online Technologies. New York: Routledge.

Jackson, T. (2005). Motivating Sustainable Consumption, a review of evidence on consumer behaviour and
behavioural change. Sustainable Development Research Network. Retrieved 28 February, 2017 from
https://www.sustainablelifestyles.ac.uk/sites/default/files/motivating_scfinal.pdf

Kotler, P., Kartajaya, H., and Setiawan, I. (2010). Marketing 3.0: From products to customers to the human spirit. N.J:
Wiley.

Schiffman, L.G., and Wisenblit, J. (2014). Consumer Behavior, NJ: Pearson Always Learning.