ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวสูงอายุ: กรณีศึกษานักท่องเที่ยวในชมรมผู้สูงอายุ กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

นลินี พานสายตา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของเจตคติและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงที่มีต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวสูงอายุ กลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวในชมรมผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร จำนวน 151 คน ที่ได้มาด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบสามขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลเชิงสาเหตุของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวสูงอายุ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยเจตคติและ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงมีอิทธิพลทางบวกต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ .61 และ .36 ตามลำดับ โดยเจตคติและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงร่วมกันอธิบายความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวสูงอายุ ได้ร้อยละ 65 (R2= .65)

Downloads

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560. เข้าถึงได้จาก https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114

เกศวลีณ์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และณารีญา วีระกิจ. (2562). การประเมินความพร้อมของแหล่งน้ำพุร้อน อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ สู่การพัฒนาเป็นเมืองต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพน้ำพุร้อน. วารสาร Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(3), 1031-1051.

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา, สุจิตรา สุคนธทรัพย์ และวิภาวดี ลี้มิ่งสวัสดิ์. (2561). สถานการณ์ความต้องการ และแนวโน้มของรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย. วารสารวิชาการสถาบันการพลศึกษา, 10(1), 167-177.

จามรี ชูศรีโฉม, ปุณยวีร์ ศรีรัตน์ และนิภาพร แซ่เจ่น. (2558). การศึกษาความพร้อมในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กรณีศึกษาอุทยานบ่อน้ำร้อน ตำบลวังหิน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 35(3), 91-114.

จิราวดี รัตนไพฑูรย์ชัย. (2557, 26 สิงหาคม). ตลาดนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ: โอกาสใหม่ไทย เติบโตรับ AEC. กรุงเทพธุรกิจ, หน้า 1.

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ, อรัญ วานิชกร และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2561). ศักยภาพอัตลักษณ์ความเป็นไทยของธุรกิจปาและการนวดแผนไทยเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสู่สากล. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(2), 1-16.

พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2557). หลักการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 6(2). 136-145.

เพ็ญพักร์ศิณา วิเชียรวรรณ, วิภาดา มุกดา, วันพุธ เชิญขวัญ และดนุสรณ์ กาญจนวงศ์. (2559). จิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพภายในประเทศของผู้สูงอายุ. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 3(2), 13-28.

ไพฑูรย์ โพธิสาร. (2547). มาตรวัดจำแนกด้วยภาษา. สารานุกรมศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 33(2547), 24-27.

มหิธร จิตตเกษม. (2561). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเส้นทางขึ้นภูกระดึง. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 2(3), 69-82.

ราณี อิสิชัยกุล. (2560). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. เข้าถึงได้จาก https://sms.stou.ac.th/?p=2233&lang=en

วรรณา วงษ์วานิช. (2546). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วราทิพย์ แก่นการ. (2561). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน รอบอุทยานบึงบัว จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 185-194.

วัชราภรณ์ จุลทา. (2562). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 12(2), 1-13.

วิราสิริริ์ วสีวีรสิว์, สุภาดา คำสุชาติ, สุภกรรณ์ จันทรวงษ์ และธงชัย อามาตยบัณฑิต. (2558). ความเป็นไปได้และรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตอำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 9(2), 210-218.

วุฒิชาติ สุนทรสมัย และปิยะพร ธรรมชาติ. (2559). รูปแบบการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสุขภาพของจังหวัดปราจีนบุรีเพื่อการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(3), 167-181.

สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560). รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม: อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. เข้าถึงได้จาก https://www.ipthailand.go.thmages/3534/web_01052018/Report_CHU/8_Well-being_06.12.2017_CHU.pdf

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). โครงการรายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยวรายไตรมาส ประจำปี พ.ศ. 2560. เข้าถึงได้จาก https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/policy/article_attach/01ProjectTourismEconomicFinalReport2017.pdf

สำนักพัฒนาสังคม. (2561). ข้อมูลชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ 50 สำนักงานเขตของกรุงเทพมหานคร. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkok.go.th/social

สุรีย์ ธรรมิกบวร และชุภาศิริ อภินันท์เดช. (2559). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามวิถีวัฒนธรรมสุขภาพลุ่มแม่น้ำโขง (หมู่บ้านซะซอม) จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 28(1), 25-40.

Ajzen, I. (2002). Constructing a TPB questionnaire: Conceptual and metodological considerations. Retrieved from https://pdfs.semantischolar.org/0574/b20bd58130dd5a961f1a2db10fd1fcbae95d.pdf

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behavior. New Jersey: Prentice-Hall.

Glasman, L. R., & Albarracín, D. (2006). Forming attitudes that predict future behaviors: A meta-analysis of the attitude-behavior relation. Psychological Bulletin, 132(5), 778-822.

Goodrich, J. N. (1994). Health tourism: A new positioning strategy for tourist destinations. Journal of International Consumer Marketing, 6(3-4), 227-238.

Hair, J. F., Black, B., Babin, B., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Keadplang, K. (2019). An increased business opportunity of wellness tourism as premium tourist destination in Asian countries. Cultural Approach, 20(37), 102-109.

Kline, R. B. (2005). Principles and practice of structural equation modeling (2nd ed.). New York: Guilford Press.

Lee, M., Han, H., & Lockyer, T. (2012). Medical tourism-attracting Japanese tourists for medical tourism experience. Journal of Travel & Tourism Marketing, 29(1), 69-86.

Mueller, H., & Kaufmann, E. L. (2001). Wellness tourism: Market analysis of a special health tourism segment and implications for the hotel industry. Journal of Vacation Marketing, 7(1), 5-17.

Na, S. A., Onn, C. Y., & Meng, C. L. (2016). Travel intentions among foreign tourists for medical treatment in Malaysia: An empirical study. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 224, 546-553.

Quintal, V. A., Lee, J. A., & Soutar, G. N. (2009). Risk, uncertainty and the theory of planned behavior: A tourism example. Tourism Management, 31(6), 797-805.

Romanova, G., Vetitnev, A., & Dimanche, F. (2015). Health and wellness tourism. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/302140629_Health_and_Wellness_Tourism

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling (3rd ed.). New York: Routledge.

Seow, A. N., Choong, Y. O., Moorthy, K., & Chan, L. M. (2017). Intention to visit Malaysia for medical tourism using the antecedents of theory of planned behaviour: A predictive model. International Journal of Tourism Research, 19(3), 383-393.