A Conceptual Framework for Studying Factors Influencing Distance Learners’ Access and Use of Information Sources

Main Article Content

Peemasak Angchun

Abstract

The aim of this study is to propose a new conceptual frameworkfor studying how determinants of information sources selection can affectdistance learners’ information-seeking behavior when seeking to selectbetween a perceived sources’ accessibility and quality to achieve theiracademic assignments. Two theories, namely, the Least Effort Theory, andthe Cost-Benefit Theory are employed for a research framework includingliterature review to analyze which of two parameters, accessibility or quality,relating to how often distance learners use information sources.

The review reveals four determinants (convenience, ease of use,relevance, and reliability) that not only influence distance learners’ selectionof information sources but they also reflect contradictory conclusions ofprevious research consisting of two theories: (1) the Least Effort Theoryfocuses on the selection of the source accessibility (convenience, and easeof use), and (2) the Cost-Benefit Theory concentrates on the selection of the source quality (relevance, and reliability).

With the advent of web technology, it is challenging for informationsystem designers to design libraries to serve the desire of distance learnersto obtain both high quality information and source accessibility at the sametime. This perspective leads to information systems designed according tothe user-centered approach and corporate web portal to provide the bestinformation services to meet distance learners to fulfill academic assignments.Moreover, the suggestion of this study is that this conceptual frameworkshould be verified by conducting the empirical future research.

 

กรอบแนวความคิดสำหรับศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าถึงและการใช้แหล่งสารสนเทศของผู้เรียนทางไกล

วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อเสนอกรอบแนวความคิดศึกษาตัวแปรที่สำคัญส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของผู้เรียนทางไกลขณะเผชิญการตัดสินใจเลือกระหว่างการเข้าถึงแหล่งกับคุณภาพสารสนเทศเพื่อการศึกษา และใช้ 2 ทฤษฎีคือ (1) ความพยายามน้อยที่สุด และ (2) ต้นทุนและผลตอบแทนรวมทั้งทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นกรอบวิจัยสำหรับวิเคราะห์สองพารามิเตอร์ คือการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือคุณภาพสารสนเทศที่มีความสัมพันธ์กับความถี่การใช้แหล่งสารสนเทศของผู้เรียนทางไกล

ผลการวิเคราะห์พบสี่ตัวแปร (1) ความสะดวก (2) การใช้งานได้ง่าย (3) ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องเกี่ยวข้องและ (4) ความน่าเชื่อถือได้ ตัวแปรเหล่านี้ไม่เพียงแต่มีอิทธิพลต่อการเลือกแหล่งสารสนเทศ แต่ยังเป็นตัวแปรที่บ่งบอกถึงความขัดแย้งของ สองทฤษฎี (1) ความพยายามน้อยที่สุดต่อการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศและ (2) ต้นทุนและผลตอบแทนพิจารณาคุณภาพสารสนเทศเป็นหลักความเจริญด้านเว็บเทคโนโลยี เป็นการท้าทายผู้ออกแบบระบบสารสนเทศห้องสมุดที่ช่วยบริการผู้เรียนทางไกลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการทั้งคุณภาพสูงและความสะดวกการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศในเวลาเดียวกันดังนั้นการออกแบบระบบสารสนเทศจึงเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลางและร่วมกับนวัตกรรมเว็บเพอร์ทัลเป็นแหล่งรวบรวมบทความและลิงค์เว็บไชต์ต่าง ๆ เพื่อความรวดเร็วในการค้นหาสารสนเทศ นอกจากนี้แล้วได้เสนอแนะว่าควรมีการทดสอบกรอบแนวความคิดโดยการทำวิจัยเชิงประจักษ์ในอนาคต

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Articles