การใช้นวัตกรรมสื่ออินโฟกราฟิกภาษาอังกฤษตำนานท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างทักษะความเข้าใจภาษาอังกฤษและการตระหนักถึงความสำคัญของตำนานท้องถิ่น ของเยาวชนในจังหวัดเชียงราย
Main Article Content
บทคัดย่อ
This research aimed to 1) build English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature, 2) to compare the ability to understand English pre-trial and post-trial Infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature and 3) to study the satisfaction of youth with English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature. The researchers selected purposive sampling technique for 178 persons because the researchers require all questionnaire respondents to meet the requirements of the age between 15-25 years and they must be students at Chiang Rai Rajabhat University. Research instruments are English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature, English Language Competency Test for understanding the English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature and questionnaire on youth’s satisfaction towards English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature. Statistics for data analysis are IOC, mean and standard deviation (S.D.) respectively.
Research findings were found that the quality of English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature order showed an average of 4.53 at the highest level. For English Language Competency Test for understanding from English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature, it was found that the average (3.52) was at high level, while the questionnaire for youth’s satisfaction towards English infographic media innovation in the local legend of four-ears-five eyes creature was satisfied by an average of 4.55 of the most satisfying level.
Article Details
References
พรหมพรรณ พรหมมายน (2548) การใช้นิทานพื้นบ้านในการแสดงละครเพื่อพัฒนาความสามรถการฟัง พูดภาษาอังกฤษและความตระหนักในด้านจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแม่เจดีย์ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย.มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
พัชรี เมืองมุสิก, ธันว์ รัชต์สินธนะกุล, และจิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์ (2506). การพัฒนาสื่อการสอนด้วยภาพอินโฟกราฟิกส์ผ่านระบบเครือข่ายวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceeding) เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15. หน้า 911-925.
พัชรา วาณิชวศิน (2015). ศักยภาพของอินโฟกราฟิกในการเพิ่มคุณภาพการเรียนรู้. Panyapiwat Journal. Vol.7 Special Issue August 2015.
ภคเมธา การสมใจ. (2559). การพัฒนาอินโฟกราฟิกแบบเคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
(เทคโนโลยีการศึกษา)). มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ปานวาด อวยพร, สยามน อินสะอาด, สุพจน์ อิงอาจ. (2560) ผลการใช้อินโฟกราฟิกส์ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิกซอว์ II กล่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที 3. Veridian E-Journal, Silpakorn University ISBN1906-3434 ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม -สิงหาคม 2560. หน้า 572-582.
สุชาติ แสนพิศ (2561) รายงานสรุปผลการบรรยายเรื่อง “Infographic ในการจัดการเรียนการสอน” วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์