การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในสังคมไทยผ่านแนวคิดการสื่อสารทางการเมือง เพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชน

Main Article Content

อรุณ ขยันหา
กิรติกาญจน์ สดากร

บทคัดย่อ

บทความนี้พยายามนำเสนอแนวทางการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในสังคมไทย โดยใช้แนวทางการสื่อสารทางการเมืองเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมในระดับขั้นที่สูงขึ้น เพื่อเป้าหมายในการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชนท้องถิ่น สำหรับแนวทางการศึกษา ใช้วิธีการสำรวจจากตำรา บทความ และงานวิจัยที่เผยแพร่ในระดับชาติและนานาชาติ พบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนมีส่วนช่วยเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชนท้องถิ่น อย่างไรก็ตามการมีส่วนร่วมยังมีข้อจำกัด/ อุปสรรคที่ขัดขวางนั่นคือ ข้อจำกัดด้านความรู้และความเข้าใจของประชาชน ข้อจำกัดดังกล่าวภาครัฐ/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำเป็นต้องพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยอาศัยกระบวนการสื่อสารที่ชัดเจนกับประชาชน เพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของชุมชนท้องถิ่น อย่างไรก็ดีจากการสำรวจงานวรรณกรรมข้างต้น โดยเฉพาะในประเทศไทยยังไม่มีการพิจารณา แนวทางการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในสังคมไทย ผ่านความสัมพันธ์ระหว่าง 3 แนวคิดพร้อมกัน อันได้แก่ แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน และแนวคิดการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชน บทความนี้จึงสำรวจ/ พิจารณา 3 แนวคิดพร้อม ๆ กัน ซึ่งนับเป็นงานที่มีความน่าสนใจและมีคุณค่าในระดับหนึ่ง

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ (Academic Article)

References

ถวิลวดี บุรีกุล. (2552). พลวัตการมีส่วนร่วมของประชาชน : จากอดีต จนถึงรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: เอ.พี.กราฟิก ดีไซด์และการพิมพ์.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และคณะ. (2552). รายงานการศึกษา เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนใน
กระบวนการร่างกฎหมาย. นนทบุรี : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548. ราชกิจจานุเบกษา.
เล่มที่ 122 ตอนที่ 55 ง, 27 กรกฎาคม 2548, หน้า 25-29.
รัถยานภิศ รัชตะวรรณ และคณะ. (2561). กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสุขภาวะ.
วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2561.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 114
ตอนที่ 55 ก, 11 ตุลาคม 2540, หน้า 1-89.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 124
ตอนที่ 47 ก, 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1-104.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 134
ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560, หน้า 1-89.
วันชัย วัฒนศัพท์. (2544). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. นนทบุรี: สถาบัน
พระปกเกล้า.
สมควร กวียะ. (2535). การสื่อสารมวลชน: บทบาทหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ ความรับผิดชอบ. กรุงเทพฯ :
พชรการต์การพิมพ์
สุจิต บุญบงการ. (2531). การพัฒนาทางการเมืองของไทย: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทาง
การเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Agree, W.K., Ault P.H., & Emerry, E. (1976). Introduction to mass communication. New York,
NY: Harper & Row.
Arienne Naber and Bert Enserink. (2012). Social media to facilitate public paticipation in IA.
Energy Future the Role of Impact Assessment 32nd Annual Meeting of the International Association for Impact Assessment 27 May- 1 June 2012
Brian McNair. (2011). An introduction to political communication. New York: Routledge.

Steven H. Chaffee, ed. (1975). Political communication: issues and strategies for research.
Public Opinion Quarterly, Volume 40, Issue 3, Fall 1976, Pages 422–423Cummins R.A., Eckersley R, Pallant J, Davern M. (2002). The international wellbeing group
and the Australian unity wellbeing index. Social Indicators Network News. 69:8.
Eckersley R. (2004). Well & good: how we feel & why it matters. Melbourne: Text Publishing.
Fermín Bouza. (2004). The impact area of political communication: citizenship faced with
public discourse. International Review of Sociology, Vol. 14, No. 2, pp.245-259.
Farhana Razzaque. (2017). Role of mass media in facilitating citizen’s participation in
Bangladesh public procurement. Cultural and Religious Studies, 5(12), 691-702.
John Wiseman, Kathleen Brasher. (2008). Community wellbeing in an unwell world: trends,
challenges, and possibilities. Journal of Public Health Policy, 29(1), 353–366.
Robert E. Denton, Jr. and Gary C. Woodward. (1990). Political communication in America.
(2nd ed.). New York : Praeger.
Rush, M., & Althoff, p. (1971). An introduction to political sociology. London: Thomas Nelson
and Sons.
Steven H. Chaffee. (1976). Political communication: issues and strategies for research.
public opinion quarterly, 40(3), 422–423.
Thomas Diets and Paul C. Stern (ed.). (2008). Public participation in environmental
assessment and decision making. Washington, D.C.: The National Academies Press.