กลวิธีและถ้อยคำการสัมภาษณ์ในรายการวิทยุคลับฟรายเดย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ เป็นการวิเคราะห์กลวิธีและถ้อยคำการสัมภาษณ์ ที่ผู้สัมภาษณ์ใช้ในรายการวิทยุคลับฟรายเดย์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้จากบทสัมภาษณ์ในรายการวิทยุคลื่นความถี่ "106.5 FM" ออกอากาศทุกวันศุกร์ในเดือน มกราคม พ.ศ.2561 จากการศึกษาพบว่า กลวิธีการสัมภาษณ์ที่พบมากที่สุด คือกลวิธีการถามชี้นำคำตอบ และกลวิธีการถามโดยใช้รูปประโยคขอร้อง และถ้อยคำของผู้สัมภาษณ์ที่ใช้ในรายการวิทยุคลับฟรายเดย์มีลักษณะเด่นที่ได้รับความนิยม คือ กลวิธีการใช้ถ้อยคำแนะนำและให้กำลังใจ ทั้งนี้เพราะผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์มีวัตถุประสงค์และประเด็นสัมภาษณ์ที่แน่ชัด
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย (Research Article)
References
กมลวรรณ ปกรณ์ขจรนาวิน. (2549). กลวิธีการถามในปริเฉทการสัมภาษณ์รายการถึงลูกถึงคน.
(วิทยานิพนธ์ ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทิมา สว่างลาภ. (2547). กลวิธีการถามในปริเฉทการสัมภาษณ์ของสรยุทธ สุทัศนะจินดาที่ใช้ในการ
สัมภาษณ์ผู้ที่มีสถานภาพทางสังคมต่างกันในภาษาไทย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2542). หน้าที่ของอุปลักษณ์จากมุมมองของผู้ใช้ภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภากรณ์ อัจฉริยะกุล และธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ. (2546) รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง, เอกสาร
การสอนชุดวิชาการเขียนบทวิทยุกระจายเสียง สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประไพพรรณ พึ่งฉิม. (2542). กลวิธีการถามในปริเฉทการสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์สองประเภท.
(วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัญฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาสพงศ์ ผิวพอใช้. (2548). รูปแบบและกลวิธีการสัมภาษณ์ในรายการวิทยุ “ร่วมด้วยช่วยกัน”. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส์
พับลิเคชั่นส์.
สรียา ทับทัน (2543). กลวิธีทางภาษาในการถามซัก ถามค้าน ถามติง ในการพิจารณาคดี. (วิทยานิพนธ์
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Searle, John.R. 1969. Speech Act. Cambridge University Press.
เว็บไซต์
ระเบิดเวลา. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2561. จากเว็บไซต์ http://www.royin.go.th/dictionary/.
รายการวิทยุคลับฟรายเดย์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม, 2561. จากเว็บไซต์
https://www.facebook.com/ClubFridayOfficial/.
(วิทยานิพนธ์ ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทิมา สว่างลาภ. (2547). กลวิธีการถามในปริเฉทการสัมภาษณ์ของสรยุทธ สุทัศนะจินดาที่ใช้ในการ
สัมภาษณ์ผู้ที่มีสถานภาพทางสังคมต่างกันในภาษาไทย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2542). หน้าที่ของอุปลักษณ์จากมุมมองของผู้ใช้ภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภากรณ์ อัจฉริยะกุล และธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ. (2546) รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง, เอกสาร
การสอนชุดวิชาการเขียนบทวิทยุกระจายเสียง สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประไพพรรณ พึ่งฉิม. (2542). กลวิธีการถามในปริเฉทการสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์สองประเภท.
(วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัญฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาสพงศ์ ผิวพอใช้. (2548). รูปแบบและกลวิธีการสัมภาษณ์ในรายการวิทยุ “ร่วมด้วยช่วยกัน”. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส์
พับลิเคชั่นส์.
สรียา ทับทัน (2543). กลวิธีทางภาษาในการถามซัก ถามค้าน ถามติง ในการพิจารณาคดี. (วิทยานิพนธ์
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Searle, John.R. 1969. Speech Act. Cambridge University Press.
เว็บไซต์
ระเบิดเวลา. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2561. จากเว็บไซต์ http://www.royin.go.th/dictionary/.
รายการวิทยุคลับฟรายเดย์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม, 2561. จากเว็บไซต์
https://www.facebook.com/ClubFridayOfficial/.