วิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนสะกดคำของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะภาษาต่างประเทศ สถาบันศิลปะและวิทยาศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยยูนนานนอร์มอร์ล

Main Article Content

ศิวริน แสงอาวุธ
หยาง ลี่

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนสะกดคำของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะภาษาต่างประเทศ สถาบันศิลปะและวิทยาศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยยูนนานนอร์มอร์ล โดยศึกษาข้อมูลจากการรวบรวมงานเขียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 4  จำนวน  40 คน  จากการทำแบบทดสอบคนละ 3  ชุดดังนี้  การเขียนบรรยายภาพ  การเขียนเรียงความ  และการเขียนตามคำบอก  รวมงานเขียนทั้งหมด 120 ฉบับ ซึ่งผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนสะกดคำของนักศึกษาจีนที่เรียนสาขาวิชาภาษาไทย ผลการวิจัยพบว่าข้อผิดพลาดในการเขียนสะกดคำของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะภาษาต่างประเทศ สถาบันศิลปะและวิทยาศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยยูนนานนอร์มอร์ล มี 5 ประเด็นดังต่อไปนี้  1. การเขียนพยัญชนะต้นผิด  2. การเขียนสระผิด   3. การเขียนพยัญชนะท้ายผิด  4. การเขียนวรรณยุกต์ผิด และ 5. การเขียนตัวสะกดการันต์ โดยพบข้อผิดพลาดด้านการเขียนพยัญชนะต้นผิดมากที่สุด และพบข้อผิดพลาดด้านการเขียนวรรณยุกต์น้อยที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กันทิมา วัฒนะประเสริฐ. (2531). เรื่องของการสะกดการันต์. ใน บทความวิชาการ 20 ปี ภาควิชา
ภาษาไทย. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 37-43.
กุลกาญจน์ เอี่ยมธาดานัย.( 2553). ปัญหาการเขียนคำผิดอักขรวิธีของนักศึกษาชาวจีน .สารนิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชูศรี ศรีแก้ว. (2527). การศึกษาข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปีการศึกษา 2525. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา ภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐะปะนีย์ นาครทรรพ.( 2545). การสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์
ส่งเสริมวิชาการ.
ดุษฎีพร ชานิโรคศานต์. (2523). ข้อบกพร่องบางประการในการเขียนภาษาไทย. วารสารอักษรศาสตร์ 1(12) : 32-45.
ทิศนา แขมมณี.(2545). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.
นววรรณ พันธุเมธา. (2523). การใช้ภาษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (2552). การสอนทักษะฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : บริษัท
มิสเตอร์ก๊อปปี้ (ประเทศไทย) จากัด.
บุณย์เสนอ ตรีวิเศษ. (2542). การวิเคราะห์ปัญหาการพูดและการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในเขต
อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ที่ใช้ภาษาเขมรและภาษาส่วยใน ชีวิตประจำวัน. ปริญญานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ..
บุปผา บุญทิพย์. (2543). การเขียน. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปณิธาน บรรณาธรรม.(2555). นักศึกษาจีนกับข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทย. รายงานวิจัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.ศรีนครินทรวิโรฒ.
พนมพร นิรัญทวีและเทพี จรัสจรุงเกียรติ.( 2538). การใช้ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัทธยา จิตต์เมตตา . (2550) . การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศแนวคิด : เทคนิควิธีสอนโดยใช้ภาษาไทย.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เอกสารประกอบการอบรม.
พิเศษ เจียจันทร์พงศ์. (2528). ศาสนาและการเมืองในกรุงสุโขทัย. ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม.
พินทิพย์ ทวยเจริญ .(2539) . ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา . พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฟาน จองบินห์. (2552). การศึกษาข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาเวียดนาม. ปริญญามหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ภาสพงศ์ ผิวพอใช้. (2550). การศึกษาข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาลาวระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี . รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
มยุเรศ รัตนานิคม.(2542). สัทศาสตร์กับการฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษ. สถาบันราชภัฏสกลนคร : สกลนคร.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น จำกัด.
____________.(2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
____________. (2532). หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และเครื่องหมายอื่นๆ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษัท
เพื่อนพิมพ์จากัด.
วรรณ แก้วแพรก.( 2524). การใช้คำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.


วรรณี โสมประยูร. (2544). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์
ไทยวัฒนาพานิช จากัด.
วิชาการ, กรม.( 2539 ). การเรียนการสอนภาษาไทยปัญหาและแนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ศรีจันทร์ วิชาตรง.( 2542). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทย ของนักศึกษาสถาบันราชภัฏพระนคร ปีการศึกษา
2540. รายงานการวิจัย. สถาบันราชภัฏพระนคร.
ศรีวิไล พลมณี. (2545). พื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. (2549). การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. เชียงใหม่ :โรงพิมพ์มิ่งเมือง.
สิระ สมนาม. (2550). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนของนักศึกษาที่เรียนภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง :กรณีศึกษา
นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 1 ปี จาก วิทยาลัยอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี
สิบสองปันนา ณ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. (2538). วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์.( 2540). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.
สุนันทา โสรัจจ์. (2528). การสำรวจความสามารถทางการเขียนสะกดการันต์ การศึกษามูลเหตุแห่งการเขียนผิดและแนวทาง
ในการแก้ปัญหาเรื่องการเขียนสะกดการันต์ผิดของนิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัย. รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .
สุปราณี ดาราฉาย. (2536). สอนนักเรียนให้เขียนตัวสะกดถูก. จะสอนภาษาไทยให้สนุกได้อย่างไร. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรีย์วรรณ เสถียรสุคนธ์. (2553). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาจีน : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
อัครา บุญทิพย์ .(2550) . การสอนหลักภาษาเชิงบูรณาการ.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เอกสารประกอบการ
อบรม.
อัญชลี ทองเอม. (2537). ศึกษาลักษณะความผิดพลาดในการเขียนภาษาไทย ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3
ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
อุปกิตศิลปสาร, พระยา.( 2546). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.