แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันยังมีรายได้ไม่เพียงพอต่อจัดทำบริการสาธารณะของท้องถิ่น เป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยพิจารณาจากสภาพปัญหาและข้อจำกัดทางการคลังท้องถิ่น ได้แก่ ประการแรก ข้อจำกัดอันเนื่องมาจากรัฐบาลกลางในฐานะที่เป็นผู้กระจายอำนาจทางการคลัง ประการที่สอง ข้อจำกัดอันเนื่องมาจากส่วนท้องถิ่นในฐานะเป็นผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและต้องพัฒนารายได้ของตนเอง การศึกษาครั้งนี้จึงเป็นการสำรวจสภาพปัญหา ข้อจำกัด และหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น เพื่อจัดทำบริการสาธารณะที่ดีแก่ประชาชนในลำดับต่อไป
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย (Research Article)
References
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2557). รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษาวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผลการกระจายอำนาจของไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2559). การคลังท้องถิ่น: การขยายฐานรายได้และมาตรการลดความเหลื่อมล้ำ.
กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2547). การกระจายอำนาจกับการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น ใน
สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย.นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติจัดสรรรายได้ประเภทภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2534
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
พระราชบัญญัติบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508
พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา. (2553). วิถีใหม่การพัฒนารายรับท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการ
ปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2541). การปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นตามธรรมนูญฉบับปัจจุบัน.
กรุงเทพมหานคร: มติชน.
สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. http:///www.odloc.go.th
สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2558). ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2561. สำนักงานคณะกรรมการการกระจาย อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
อรทัย ก๊กผล. (2546). Best Practices ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
อุดม ทุมโฆษิต. (2545). การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
หอรัตนชัยการพิมพ์.
อรุณ ขยันหา. (2559). การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิจัย
และผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก.
Shun-ichiro Bessho.(2016). CASE STUDY OF CENTRAL AND LOCAL GOVERNMENT
FINANCE IN JAPAN. ADB Institute, ADBI Working Paper Series.
โครงการศึกษาวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผลการกระจายอำนาจของไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2559). การคลังท้องถิ่น: การขยายฐานรายได้และมาตรการลดความเหลื่อมล้ำ.
กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2547). การกระจายอำนาจกับการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น ใน
สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย.นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติจัดสรรรายได้ประเภทภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2534
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
พระราชบัญญัติบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508
พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา. (2553). วิถีใหม่การพัฒนารายรับท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการ
ปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2541). การปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นตามธรรมนูญฉบับปัจจุบัน.
กรุงเทพมหานคร: มติชน.
สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. http:///www.odloc.go.th
สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2558). ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2561. สำนักงานคณะกรรมการการกระจาย อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
อรทัย ก๊กผล. (2546). Best Practices ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
อุดม ทุมโฆษิต. (2545). การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
หอรัตนชัยการพิมพ์.
อรุณ ขยันหา. (2559). การเมืองการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิจัย
และผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก.
Shun-ichiro Bessho.(2016). CASE STUDY OF CENTRAL AND LOCAL GOVERNMENT
FINANCE IN JAPAN. ADB Institute, ADBI Working Paper Series.