นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาวิถีใหม่เพื่อส่งเสริมทักษะมารยาทดิจิทัล

Main Article Content

วราภรณ์ ชนะจันทร์ตา
ชรินทร์ มั่งคั่ง
พิมภัสสร เด็ดขาด
เขมินทรา ตันธิกุล

บทคัดย่อ

สถานการณ์ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสังคมเข้าสู่ยุคดิจิทัล มีการเรียนรู้สังคมศึกษาวิถีใหม่ เกิดสภาวะสภาพปัญหาของพลเมืองดิจิทัล การขาดวิจารณญาณในการใช้สื่อ เทคโนโลยี ขาดการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงของข้อมูล และขาดจริยธรรมในการใช้สื่อ เทคโนโลยี ส่งเสริมคุณลักษณะที่ได้จากสังเคราะห์สถิติ เพื่อเกิดองค์ประกอบคุณลักษณะ เพื่อให้นักศึกษาเกิดภาวะความพร้อมในการเรียน โดยใช้วิธีการการสัมภาษณ์ และการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัญหาของมารยาทดิจิทัลของของนิสิตนักศึกษา 2) ส่งเสริมคุณลักษณะที่ได้จากสังเคราะห์สถิติ เพื่อพัฒนาทักษะมารยาทดิจิทัล ซึ่งจะต้องมีองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนการมารยาทดิจิทัล 2) สื่อการเรียนสอนวิถีใหม่ ส่งเสริมทักษะมารยาทดิจิทัล 3)การประเมิน ภาพรวมค่า IOC อยู่ในระดับ มากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

Charin Mangkang. (2016). Futuristic Science: Theory and Techniques of Social Studies Learning Management. Chiang Mai: Diamond Graphics Group Publishers.

Charin Mangkang. (2018). Knowledge of Curriculum and Teaching in Social Studies. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Chetaphum Wanphaisan. (2020). Social Studies Research: Principles and Applications. Bangkok: Danex Inter Corporation.

Jatuporn Khaomala. (2018). The development of a learning management model that enhances the characteristics of Citizenship is a vocational course for nursing students. in the Doctor of Philosophy Research and Curriculum Development. Srinakharinwirot University, 15(2), 173-178.

Johnson, D. W. & Johnson, R. T. (2017). Cooperative Learning. In Minnesota. University of

Minnesota.S.R. Clegg, C. Harddy, and W.R. Nord Eds. (2021). The normal science of structural contingency theory. The Sage handbook of organization studies, 12(3), 57-76.

Lyons, R. (2012). Investigating Student Gender and Grade Level Differences in Digital Citizenship Behavior. In Doctor of Education. College of Education.

Marut Pattphon, Wichai Wongyai. (2019). Digital Learning. Bangkok: Center for Leadership in Curriculum and Learning Innovations, Mahidol University. (2016). Digital LiteracyCurriculumRetrievedMay1,2022,from:https://sites.google.com/ska1.go.th/digitalliteracy.

Waraporn Chanachanta, Charin Mangkang. (2561). Learning innovation using virtual technology to the future of the classroom. Social studies online. Journal of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, 5(2), 273-296.