การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา

Main Article Content

ประทีป ผลจันทร์งาม

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้นำเสนอการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา 2) ประเมินความเหมาะสมระบบการบริหารจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา 3) ประเมินประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา วิธีการ ดำาเนนิการวจิยัผูว้จิยัไดก้ำาหนดการพฒันาระบบ 8 ขัน้ตอน กลุม่เปา้หมายในการวจิยั ไดแ้ก่ ครผููส้อนทีท่ำาหนา้ที่ รับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา จำานวนทั้งหมด 35 คน จากผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา มีองค์ประกอบ 7 ส่วน ได้แก่ (1) ระบบการบริหารจัดการเรียนรู้ (2) การวางแผน (3) การวิเคราะห์ (4) การออกแบบ (5) การพัฒนา (6) การนำาไปใช้จริง และ (7) การประเมินผล 2) คุณภาพของระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สังกัด สถาบันการอาชีวศึกษา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{X}= 4.29, S.D. = 0.62) เป็นไปตามสมมติฐาน ของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน สถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ในภาคทฤษฎีมีค่าเท่ากับ 83.07/81.74 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ของ สมมุติฐานที่ตั้งไว้ (80/80) ในภาคปฏิบัติมีค่าเท่ากับ 88.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ของสมมุติฐานที่ตั้งไว้ (75)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ.(2553). ทศวรรษใหม่ขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาไทย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.(2553).ทศวรรษใหม่ขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาไทย.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ปิยะพงษ์ ทองธานี.(2547).การพัฒนาระบบต้นแบบเพื่อช่วยบริหารจัดการรายวิชาแบบออนไลน์.ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นพรัตน์ เตียวเจริญและวรรณภา พานิชนาวิน.(2549).การพัฒนาระบบคลังข้อสอบแบบปรับเหมาะตามระดับความสามารถของผู้เรียน.วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จารุมน หนูคงและณมน จีรังสุวรรณ.(2558).การออกแบบรูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานร่วมกับการสอนแบบ MOOC เพื่อพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต.วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถุนายน : 105-113.

Honey, P. and A. Mumford. (1986). Using Your Learning Styles. Maidenhead : Peter Honey.

Kolb, D.A. (1984). Experiential Learning : Experience as The Source of Learning and Development. Englewood Cliffs. New Jersey : Prentice-Hall.

Ellis, R. (1985). “Effects of Teaching Approach on Achievement, Retention and Problem Solving Ability lf Illinois Agricultural Education Students with Varying Learning Styles”. Dissertation Abstracts International. 9 March 1996 : 3419-A.

ถนอม เหล่าจรัสแสง.(2551). [ออนไลน์].ความหมาย e-learning.[สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560], จาก http://www.kroobannok.com/1586

ปัญญา ศิริโรจน์.(2551). e-Learning System. วารสารวิจัยรามคำาแหง. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม–มิถุนายน : 29-39.

มณเฑียร รัตนศิริวงศ์วุฒิ. (2550). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมออนไลน์สมรรถนะนักเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ อุตสาหกรรม ภาควิชาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.