การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะวิชาชีพนักสื่อสารมวลชน ดิจิทัลด้วยเทคนิคเดลฟาย

Main Article Content

ฉันทนา ปาปัดถา

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะวิชาชีพนักสื่อสารมวลชนดิจิทัลด้วยเทคนิคเดลฟาย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิคเดลฟาย โดยการรวบรวมความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านสื่อสารมวลชน ประกอบด้วยอาจารย์/นักวิชาการ และนักวิชาชีพสื่อสารมวลชนจำานวน 19 ท่าน ซึ่งทำาการเก็บรวบรวมข้อมูลจำานวน 3 รอบ ได้แก่ รอบที่ 1 การประเมินความคิดเห็นของ
ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับร่างตัวบ่งชี้สมรรถนะวิชาชีพนักสื่อสารมวลชนดิจิทัลตามกรอบการพัฒนาสมรรถนะบุคคลรอบที่ 2 ประเมินความเหมาะสมของตัวบ่งชี้สมรรถนะวิชาชีพนักสื่อสารมวลชนดิจิทัล และ 3) การตรวจสอบ
ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อยืนยันความคิดเห็น ผลการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้สมรรถนะวิชาชีพนักสื่อสารมวลชนดิจิทัล จำานวน 44 ตัวบ่งชี้ จำาแนกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ สิ่งพิมพ์ดิจิทัล 10 ตัวบ่งชี้ วิทยุและโทรทัศน์
ดิจิทัล 13 ตัวบ่งชี้ ภาพยนตร์ดิจิทัล 10 ตัวบ่งชี้ และสื่อดิจิทัล 11 ตัวบ่งชี้

Article Details

How to Cite
ปาปัดถา ฉ. (2020). การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะวิชาชีพนักสื่อสารมวลชน ดิจิทัลด้วยเทคนิคเดลฟาย. วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร, 3(1), 89–100. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/245021
บท
บทความวิจัย

References

ปรมะ สตะเวทิน. (2541). การสื่อสารมวลชนกระบวนการและทฤษฎี. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์.(2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : Openworlds.

สมควร กวียะ. (2539). การสื่อสารมวลชนบทบาทหน้าที่ เสรีภาพ และความรับผิดชอบ.กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์ดอกหญ้า.

อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2549). สังคมสื่อ สงครามการตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ Brand Agebooks.

สันทัด ทองรินทร์. (2548). เอกสารการสอนชุดการบริหารกิจการสื่อสาร. นนทบุรี: สำนักพิมพ์สุโขทัยธรรมาธิราช.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2556). CompetencyBased Approach. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:เดอะกราฟิโกซิสเต็มส์.

McClelland, D. C. (1973). “Testing for competence rather than intelligence.” American Psychologist. Vol.28 No.1 : 1-19.

Nordhaug, O. (1993). Human Capital in Organization : Competence, Training, and Learning. New York : Oxford University Press.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.(2548). คู่มือสมรรถนะข้าราชการพลเรือนไทย.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SME) ด้วย AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2550) ระเบียบวิธีวิจัย:แนวทางปฏิบัติสู่ความสำาเร็จ. กรุงเทพฯ:ยูแอด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย.

มาลี บุญศิริพันธ์. (2556). วารสารศาสตร์เบื้องต้น ปรัชญาแลแนวคิด. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นงนุช ศิริโรจน์. (2552). การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.