รูปแบบการพัฒนากำลังคนด้านสมรรถนะดิจิทัลตามนโยบายประเทศไทย 4.0

Main Article Content

ฉันทนา ปาปัดถา
สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์
วิลัยวรรณ์ ตระกูลวงศ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนากำลังคนด้านสมรรถนะดิจิทัลตามนโยบายประเทศไทย 4.0 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง และกาสนทนากลุ่ม (Focus Group) จากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านสมรรถนะดิจทัล ด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา และด้านการพัฒนาหลักสูตร มากกว่า 10 จำนวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการพัฒนากำลังคนด้านสมรรถนะดิจิทัลตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ 1) เตรียมความพร้อม ได้แก่ 1.1) สร้างศรัทธา 1.2) บรรยากาศ 1.3) ความสัมพันธ์ 1.4) บุคลิกภาพ 1.5) สื่อ และ 1.6) หลักสูตรการอบรม 2) ขั้นอบรม ได้แก่ 2.1) สร้างความสนใจ 2.2) สำรวจและค้นหา 2.3) ผู้เข้ารับการอบรมลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลข้อสนเทศหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ และ 2.2) อธิบายและลงข้อสรุป 3) ขยายความรู้ เผยแพร่ความรู้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Partnership for 21st Century Skills. (2011). Framework for 21st Century Learning. [Retrieved 15 July 2020]. From: http://www.p21.org
[2] สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ปี 2556. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
[3] รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล. (2562). มาตรฐานด้านทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy). [สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2563]. จาก https://km.li.mahidol.ac.th/digital-literacy/
[4] มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ. (2561). โครงการศึกษาการพัฒนากำลังคนด้านดิจิทัล (Digital Manpower) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ.
[5] วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
[6] อารี สุทธิพันธุ์. (2521). การออกแบบจึงเป็นการสร้างสรรคค์วามงามบนพื้นฐานที่มีประโยชน์ ขบวนการทำงานออกแบบกราฟิก. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
[7] สุมน อมรวิวัฒน์. (2513). พุทธวิธีสอน. เอกสารการประชุมทางวิชาการพระพุทธศาสนากับการศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ.
[9] สุมน อมรวิวัฒน์. (2538). สมบัติทิพย์ของการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[10] สุคนธ์ สินธพานนท์ .(2538). การใช้วิธีสอนแบบธรรมสากัจฉาเพื่อสร้างศรัทธาและวิธีคิดตามหลักพุทธธรรมแก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
[8] สุคนธ์ สินธพานนท์ และ คณะ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้: เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.