การพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 The Development of Interactive Media with Cooperative Learning Management of STAD Technique on Problem Solving for Matayomsuksa 1 Students

Main Article Content

Kanokwan Moonchai

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพกของสื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนรู้ของการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 39 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม โดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือวิจัย คือ 1) สื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทบสอบ t-test


ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของสื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ 81.23/82.69 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในระดับระดับมากที่สุด โดยค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.78

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2565]. จาก https://www.moe.go.th/ /backend/wp-content/uploads/ 2020/10/1.-พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ-พ.ศ.2542-ฉ.อัพเดท.pdf.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). [ออนไลน์]. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรังปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2565]. จาก https://www.ipst.ac.th/wp-content/uploads/ 2021/04/IndicatorSci2560.pdf.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). [ออนไลน์]. คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์. [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2565]. จาก https://www.scimath.org/e-books/8376/8376.pdf.

สุภาณี เส็งศรี. (2561). วิธีวิทยาการสอน:คอมพิวเตอร์ สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาระเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). พิษณุโลก : นวมิตรการพิมพ์

ธงชัย เส็งศรี และ สุภาณี เส็งศรี. (2565) การจัดกิจกรรมการเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ทางไกล โดยใช้การณีศึกษา : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 1. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1. 40 - 56

ชัชฎา ชวรางกูร. (2563). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Adobe Audition ขั้นพื้นฐาน.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2. 36-47.

วิมนรัตน์ สุนทรโรจน์. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้ (Cooperative Learning). [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2565]. จาก https://so02.tci-thaijo.org> article>download.

ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุไม บิลไล. (2557). [ออนไลน์]. การออกแบบและพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย โดยใช้ ADDIE Model. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2565]. จาก https://drsumaibinbai.wordpress.com/.

ธมนวรรณ เทาศิริ สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล. (2564). การพัฒนามัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง ระบบสุริยะ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. Lawarath Social

E-Journal. ปีที่ 3 ฉบับที่ 3. 65 – 79.

จรินทร อุ่นไกร และ ไกยสิทธิ์ อภิระติง. (2562). การพัฒนาสื่อดิจิทัลร่วมกับเทคโนโลยีความจริงเสริมโดยอาศัยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ในรายวิชาคอมพิวเตอร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2. 21-27.

นงพงา สุขโอสถ. (2558). การพัฒนาบทเรียนแท็บเล็ตพีซีร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD เรื่อง สีสันของเสียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ชญาภา รุ่งโรจน์ธีระ. (2555). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายในการเรียนแบบร่วมมือแบบ STAD สำหรับการสร้างเกม RPG เพื่อส่งเสริมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

กรองกาญจน์ มูลไธสง, วิจิตรา วงศ์อนุสิทธิ์ และ สำราญ กำจัดภัย. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Food and Drink. วารสารวิทยาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ปีที่ 13 ฉบับที่ 36. 149 – 157.

บุญชัช เมฆแก้ว. (2562). การพัฒนาชุดช่วยวิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์หาค่าความเชื่อมั่นแบบทดสอบ (KR-20). วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. วิทยาลัยชุมชนพังงา สถาบันวิทยาลับชุมชน.