ปัจจัยการสร้างเสริมศักยภาพทางวิชาชีพด้านการจัดการเรียนรู้ของครูนวัตกร ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น FACTORS OF REINFORCEMENT POTENTIAL IN DEVELOPMENT IN LEARNING MANAGEMENT OF INNOVATIVE TEACHER IN SCHOOL UNDER THE LOCAL GOVERNMENT ORGANIZATIONS

Main Article Content

สุภาณี เส็งศรี
ธงชัย เส็งศรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการสร้างเสริมศักยภาพทางวิชาชีพด้านการจัดการเรียนรู้ของครูนวัตกรในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  กลุ่มตัวอย่าง คือ 1)ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา ผู้อำนวยการสำนักการศึกษา ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และผู้นำชุมชม สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจงเฉพาะผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ร่วมพัฒนาครูในโครงการพัฒนาครูภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยงในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างจำนวน 15 คน  โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคลด้วยเครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบสอบถาม  จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมศักยภาพทางวิชาชีพด้านการจัดการเรียนรู้ของครูนวัตกรในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มี 5 ปัจจัยหลัก (n=15 ร้อยละ 100) ประกอบด้วย 1) คุณลักษณะสำคัญของครูนวัตกร (equation=4.91 S.D.=0.22) 2) การเสริมความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (equation=4.95 S.D.=0.11) 3) กิจกรรมการพัฒนาตนเองของครูนวัตกรแบบผสมผสาน (equation=4.90 S.D.=0.10)   4) การสนับสนุน ติดตาม เสริมแรง และ สร้างแรงจูงใจจากต้นสังกัดและเพื่อนร่วมวิชาชีพ (equation=5.00 S.D.=0.00) และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างครูนวัตกรกับภาคีเครือข่ายและชุมชน (equation=4.77 S.D.=0.40)

Article Details

How to Cite
เส็งศรี ส., & เส็งศรี ธ. (2024). ปัจจัยการสร้างเสริมศักยภาพทางวิชาชีพด้านการจัดการเรียนรู้ของครูนวัตกร ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: FACTORS OF REINFORCEMENT POTENTIAL IN DEVELOPMENT IN LEARNING MANAGEMENT OF INNOVATIVE TEACHER IN SCHOOL UNDER THE LOCAL GOVERNMENT ORGANIZATIONS. วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร, 7(1), 231–249. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/273040
บท
บทความวิจัย

References

บุหงา วชิระศักดิ์มงคล และสุภาณี เส็งศรี. (2557) [ออนไลน์]. บทบาทครูยุคดิจิทัล. https://www.slideshare.net/ kruduangnapa/ss-42863725

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2562). [ออนไลน์]. Innovation for the Future นวัตกรรมเพื่ออนาคต.กรุงเทพมหานคร : สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ จาก https://www.nia.or.th/frontend/bookshelf/zWf7 zwTMcEWhI/62d3a82b0f129.pdf

ปรีดา ยังสุขสถาพร วัชริน มีรอด และพลากร บุปผาธนากร. (2548). Zero To Hero : 21 นวัตกรรมของคนธรรมดาที่ไม่ธรรมดา. กรุงเทพ ฯ: บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด

ผู้อำนวยการสำนักวิชาการและนวัตกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2565). [ออนไลน์]. มากกว่านวัตกรรม คือการสร้างนวัตกร. จาก https://www.thailandplus.tv/archives/302677

UNESCO. (2022). [online]. World Teachers' Day.form https://unescoghana.gov.gh/celebrations-of-world-teachers-day-2022-by-unesco/

รัฐพงศ์ บุญญานุวัตร. (2564). [ออนไลน์]. ครู มิติแห่งความหวัง ความท้าทายกับปรากฏการณ์วิถีใหม่. https://www.matichon.co.th/columnists/news_2530788

ก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์. (2567). [ออนไลน์]. ซีพี ออลล์ จัดเสวนาพิเศษ "อนาคตครูไทยในทศวรรษหน้า" พร้อมเปิดตัวคลิป “เชิดชูจิตวิญญาณความเป็นครู” เนื่องในวันครูแห่งชาติ 2567. https://mgronline.com/onlinesection/detail/ 9670000004233

โกศล ภูศรี. (2564). [ออนไลน์]. กลยุทธ์การพัฒนาความเป็นนวัตกรของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม จากhttp://202.28.34.124/dspace/bitstream/123456789/1408/1/62010562002.pdf

วิกิพีเดีย. (2564). [ออนไลน์]. การปกครองส่วนท้องถิ่น. จาก https://th.wikipedia.org การปกครองส่วนท้องถิ่น - วิกิพีเดีย (wikipedia.org)

กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น. (2565). [ออนไลน์]. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ จาก http://www.dla.go.th/servlet/TemplateOrganizeServlet?organize=sis

ธานินทร์ ทิมทอง. (2561) [ออนไลน์]. เมื่อโลกเปลี่ยนเราต้องปรับ อัพสกิล “ครู” รับทักษะอนาคต กับ “เลิร์น เอ็ดดูเคชั่น” จาก https://www.tcfe.or.th/lets-have-a-better-future-together/

Barnett Berry. (2011). [online]. Teaching 2030: What We Must Do for Our Students and Our Public Schools--Now and in the Future. form https://eric.ed.gov/?id=ED523290

Epler, Pam. (2020). [online]. What Is a Teacherpreneur? Enhancing Teaching and Leadership Initiatives With Teacherpreneurs: Emerging Research and Opportunities. form https://www.igi-global.com/ chapter/what-is-a-teacherpreneur/250155

สุจิตรา ปันดี. (2012). [ออนไลน์]. ครูยุคใหม่..ในอนาคต ค.ศ. 2030. จาก https://www.gotoknow.org/posts/447409

พารณ อิสรเสนา ณ อยุธยา. (2556) การศึกษาทางเลือก : ทิศทางการปฏิวัติการศึกษาไทย. มติชน ฉบับพิเศษ 9 มกราคม 2556

อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2539) [ออนไลน์]. ครูในอนาคต. จาก https://view.officeapps.live.com/1854848071.ppt (live.com)

Bell, Beverley and Gilbert, John. (1994). [online]. “Teacher development as professional, personal, and social development”. form Teaching and Teacher Education. 10(5) September 1994, P.483-497 https://www.academia.edu/1192552/Teacher_Development_As_Professional_Personal_and_Social_Development

Luecha Ladachart. (2013). [ออนไลน์]. Inquiring Mind ครูไทย หัวใจสืบเสาะ. จากhttps://www.inquiringmind.in.th/archives/843.

มนตรี แย้มกสิกร. (2561) [ออนไลน์]. เมื่อโลกเปลี่ยนเราต้องปรับ อัพสกิล “ครู” รับทักษะอนาคต กับ “เลิร์น เอ็ดดูเคชั่น” จาก https://www.tcfe.or.th/lets-have-a-better-future-together/

สุภาณี เส็งศรี. (2565) รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง : โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการโดยใช้แหล่งการเรียนรู้ในชุมชนเป็นฐานด้วยรูปแบบ e-CLIPs เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สมภพ มานะรังสรรค์ (2567). [ออนไลน์]. ซีพี ออลล์ จัดเสวนาพิเศษ "อนาคตครูไทยในทศวรรษหน้า" พร้อมเปิดตัวคลิป “เชิดชูจิตวิญญาณความเป็นครู” เนื่องในวันครูแห่งชาติ 2567. จาก https://mgronline.com/onlinesection/detail/ 9670000004233

ธัญมัย เดชมา. (2565). (สัมภาษณ์, 11 สิงหาคม 2565) ความเป็นนวัตกรของครู อปท.. ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาล 3 วัดท่ามะปราง

เยี่ยม วรอินทร์. (2565). (สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2565) ความเป็นนวัตกรของครู อปท. ณ ห้องประชุม หอสมุดเทศบาลนครพิษณุโลก

ไพรัตน์ น้อยหมอ. (2565). (สัมภาษณ์, 11 สิงหาคม 2565) ความเป็นนวัตกรของครู อปท. ณ ห้องประชุมสำนักการศึกษาเทศบาลนครพิษณุโลก

ผู้นำชุมชน (นามแฝง). (2567). สัมภาษณ์ 2 เมษายน 2567 ณ ลานเทศบาลทับผึ้ง อ.ศรีสำโรง

มนตรี แย้มกสิกร. (2562). ครูแห่งอนาคตเพื่อผู้เรียนแห่งอนาคต [Future Teachers for Future Learners] ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2562 เรื่อง “ครูแห่งอนาคตเพื่อผู้เรียนแห่งอนาคต”. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา, หน้า 20-29.

วสันต์ เหลือประภัสร์. (2566). “การกระจายอำนาจ ศาลาคนเศร้า ปัญหาครัวเรือน และคุณภาพชีวิต : การทบทวนข้อถกเถียงและการแสวงหาบทสนทนาใหม่” วารสารการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กองทุนเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.). 1(3) มิถุนายน 2566

ชญาพิมพ์ อุสาโห และคณะ. (2563). [ออนไลน์]. การพัฒนากระบวนทัศน์ รูปแบบและกลไกการพัฒนาครูในลักษณะเครือข่ายเชิงพื้นที่ 5 พื้นที่. คุรุสภาวิทยาจารย์ Journal of Teacher Professional Development. 1:2 (พฤษภาคม –สิงหาคม 2563) หน้า 27-40 จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/withayajarnjournal/article/view/ 241703/164273

อัจฉรา จุ้ยเจริญ. (2567). [ออนไลน์]. เทรนด์ ‘Coaching & Mentoring’ในยุค AI พัฒนาผู้บริหารสู่การขับเคลื่อนองค์กรที่ยั่งยืน. จาก http://www.msn.com/th-th/news เทรนด์ ‘Coaching & Mentoring’ในยุค AI พัฒนาผู้บริหารสู่การขับเคลื่อนองค์กรที่ยั่งยืน

Kumar, Vijay. (2013). 101 Design Methods: a Structured Approach for Driving Innovation in =Your Organization. New Jersey : John Wiley & Sons. Inc

ชลวิทย์ เจียรจิตต์ ชัยวัชร พรหมจิตติพงศ์ ธันนิกานต์ สูญสิ้นภัย สายชล ปัญญชิต และภูเบศ วณิชชานนท์. (2565). นวัตกรรมทางสังคมกับแนวทางการพัฒนาเครือข่ายสัมมาชีพชุมชนอย่างยั่งยืน. Journal of MCU Social Science Review. 11(2) March -April2022. 1-14

กุลธิดา ภูฆัง พรชัย เทพปัญญา และนรินทร์ สังขรักษา. (2559). กลยุทธ์การจัดการเครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต. 12(2) พฤษภาคม - สิงหาคม 2559.