Recruitment Recruitment of Convenience Store Employees in the Northeastern Region of CP All Public Company Limited
Keywords:
Recruitment, Northeastern Region, CP All Public Company LimitedAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและกระบวนการสรรหาของการ สรรหาพนักงานร้านสะดวกซื้อในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของบริษัทซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แนวทางการสัมภาษณ์และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า
- สภาพปัญหาในการสรรหาพนักงานร้านสะดวกซื้อ พบว่า สถานการณ์โควิด – 19 ส่งผลให้บริษัทมีนโยบายในการปรับเปลี่ยนวิธีการสรรหา โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการสรรหา เพื่อเป็นการรักษาระยะห่างตามมาตรการของรัฐ จึงมีปัญหาเรื่องระบบอินเทอร์เน็ต การสื่อสาร
- กระบวนการสรรหาพนักงานร้านสะดวกซื้อ พบว่า บริษัทมีกระบวนการสรรหาบุคคลให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ภารกิจขององค์การ โดยมีการกำหนดข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับงาน กำหนดคุณลักษณะของบุคคลที่เหมาะสมกับตำแหน่งกำหนดลักษณะเฉพาะของผู้ปฏิบัติงานและด้วยสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้วิธีการสรรหาปรับเปลี่ยนไปเป็นแบบออนไลน์เป็น Social Media Recruiting การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ผ่าน Social Media เป็นการสรรหาผ่าน Facebook, LinkedIn, Line Jobs เป็นต้น
References
จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2558). เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย. วารสารบัณฑิตศึกษา. 12 (58), 13-24.
ชฎานุช สิทธิถาวร.(2560). การศึกษาช่องทางการสรรหาบุคลากรจากภายนอกองค์กร : กรณีศึกษาธุรกิจคอนแท็คเซ็นเตอร์แห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา. วิชาเอกบริหารธุรกิจ สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครราชสีมา.
ตนัย เสรีไพศาล. (2558). ภาพลักษณ์ที่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มการตัดสินใจเข้าทำงานกับบริษัทซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน). ม.ป.ท.
ฉัตรวีณา เอื้อแท้. (2559). เปรียบเทียบแนวทางการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเชิงรุกระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชราภา โพธิ์อ่อง. (2560). เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital HR) กับการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาบุคคลในองค์กรธุรกิจค้าปลีก. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศยามินทร์ จันทะคัต. (2564). กระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคคลของแผนกบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชคนมงคลอีสานวิทยาเขตขอนแก่น. วารสารบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 1 (2), 32-40.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2559). คู่มือการสรรหาและคัดเลือกข้าราชการเพื่อเข้าสู่ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง. สืบค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2564 จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/toolkit.
สำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. (2551). กรณีศึกษา BEST PRACTICES TQC Winner 2006. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.