พฤติกรรมการดำรงชีวิตแบบปรกติใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรข้าราชการตำรวจชั้นประทวนยศดาบตำรวจ อายุ 53 ปี เพื่อเลื่อนตำแหน่งและเลื่อนยศแบบเลื่อนไหลเป็นชั้นสัญญาบัตรถึงยศร้อยตำรวจเอกของศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 4
Keywords:
The New Normal Living Behavior, The Sufficiency Economy PhilosophyAbstract
The purposes of this research are to study the level of living behavior and to compare the differences in the new normal living behavior according to the Sufficiency Economy Philosophy of the 53 years-old Police Senior Sergeant Major who participate training in the Police Officer Training Course in order to promote their rank started from the commissioned officer to the Police Captain at the Training Center of Provincial Police Region 4. These are classified by personal factors. The research tool is a questionnaire from the representative sample group of 290 people: using frequency, percentage, mean, standard deviation, the t-test, One-Way Anova, and the Scheffe Method are used to test the research hypothesis. The result showed that the representative group of the 53 years-old Police Senior Sergeant who trained in this course which is according to Sufficiency Economy Philosophy which overall are in the high-level and strongly agree on the terms of morality: be ranked number one, and followed by a good immune which is in the system terms of knowledge rationality and agree on the moderation, respectively. The comparison of differences in the new normal living behavior according to the Sufficiency Economy Philosophy of the 53 years-old Police Senior Sergeant Major who are participate training in the Police Officer Training Course in order to promote their rank started from the commissioned officer to the Police Captain at the Training Center of Provincial Police Region 4 which is classified by personal factors. Overall, the result found that different sex behaves differently, different age does not have different behavior, different status does not have different behavior, different salary behaves differently, and different education level does not have different behavior at the .05 level of significant.
References
กรมสุขภาพจิต. (2563). new normal ชีวิตวิถีใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565, จาก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2288
กรมควบคุมโรค, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2564). รายงานผลการทบทวนผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับโลกและในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน2565, จากhttps://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1177420210915075055.pdf
กรมควบคุมโรค, กลุ่มพัฒนาวิชาการโรคติดต่อ. (2564). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)มาตรการสาธารณสุข และปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2565, จาก https://ddc.
moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. (2548). การสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ฉัตรชัย ชัยแก้ว, ชาติเพชร แก้วมุงคุณ, ณัฐวุฒิ ชมพูศรี, นรา ขำสมบัติ, และสังคม ศิริบาล. (2559). การนำหลักความรู้เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวันของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ศึกษาเฉพาะกรณี: สถานีตำรวจภูธรเชียงยืน อำเภอเชียงยืนจังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรบัณทิต คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน.
ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี. (2550). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ความเป็นมาและความหมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.
ตรัยยาลักษณ์ เรืองราย, นัทนิชา หาสุนทรี. (2563). ผลการศึกษาพฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของบุคลากรภายในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 8, 119.
พีรพัฒน์ ใจแก้วมา. (2563). การศึกษาพฤติกรรมการดำรงชีวิตแบบปรกติใหม่ของประชาชนชาวไทยระหว่างวิกฤตโควิด-๑๙ ที่ปรากฏในสื่อออนไลน์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สำเริง จันทรสุวรรณ. (2547). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.