การออกแบบเพื่อทุกคน: แนวคิดและลักษณะการออกแบบที่อยู่อาศัย สำหรับผู้สูงอายุ
Abstract
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและลักษณะของการออกแบบเพื่อทุกคน และนำเสนอแนวทางการจัดที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุที่เหมาะสม ผลการวิเคราะห์ พบว่า แนวคิดและลักษณะของการออกแบบเพื่อทุกคน คือ การออกแบบอาคาร พื้นที่ สถานที่บริการสาธารณะเพื่อให้บริการแก่คนทุกกลุ่มวัยที่คำนึงถึงความแตกต่างของบุคคลและทำให้ทุกคนสามารถใช้งานได้ มีความสะดวกปลอดภัย เป็นธรรม ทั่วถึง เท่าเทียม ทั้งนี้ แนวทางการจัดที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุที่เหมาะสม ควรทำให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้และมีทางเลือกในการดำรงชีวิตได้เหมาะสมตามอัตภาพ โดยมีการจัดสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุที่พิจารณาพื้นที่และปรับปรุงพื้นที่นั้นให้เหมาะสมสำหรับการอยู่ร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุและครอบครัว ไม่ควรมุ่งเน้นไปที่การสร้างใหม่เพียงอย่างเดียว
References
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (ม.ป.ป.). คู่มือการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่เอื้อต่อสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้พิการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความเหลื่อมล้ำทางสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
จิตติมา เชาว์แก้ว. (2565). แนวทางการออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวล กรณีศึกษา พื้นที่ส่วนราชการเขตเทศบาลตำบลปลายพระยา จังหวัดกระบี่. Journal of Architectural/Planning Research and Studies. 19 (1), 65-82.
ชัญญ์ชญา ธรรมาเวทย์. (2563). ภูมิคุมกันดานความมั่นคงทางจิตใจของผูสูงอายุ. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 3 (1), 6-14.
ดิศราภรณ์ ศรีทอง. (2560). ผู้สูงอายุ: ที่อยู่อาศัยของผู้เกษียณอายุ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ไตรรัตน์ จารุทัศน์. (2558). คู่มือการออกแบบเพื่อทุกคน. กรุงเทพฯ : หน่วยปฏิบัติการวิจัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและคนพิการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพวัลย์ ทองอาจ. (2553). การออกแบบเพื่อมวลชน. วารสารนักบริหาร. 30 (3), 83-86.
ธีรนงค์ สกุลศรี และคณะ. (2561). โครงการระบบสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ: การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและกิจการเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
นวลน้อย บุญวงศ์ และนัททนี เนียมทรัพย์. (2545). การออกแบบภายในอาคารเพื่อคนพิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิพา ศรีช้าง และลวิตรา ก๋าวี. (ม.ป.ป.). รายงานการพยากรณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2560-2564. นนทบุรี : สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
วสิรฉัตร ศิริสรรหิรัญ. (2560). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย (Generation B). การค้นคว้าอิสระหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) สาขาวิชาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศวิษฐ์ พิริยะสุรวงศ์ และวิรชฏา บัวศรี. (2560). การออกแบบพื้นที่ภายในห้องของอาคารชุดพักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุกรณีศึกษา: แฟลตเคหะชุมชนดินแดง. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 28 (1), 174-184.
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม. (2558). การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
สุชน ยิ้มรัตนบวร. (2561). การพัฒนาการออกแบบบ้านพักอาศัยสำหรับผู้สูงวัยด้วยหลักการออกแบบสำหรับคนทุกวัย. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 26, 173-188.
อภิชัย ไพรสินธุ์, อัษฎา วรรณกายนต์ และลลิลทิพย์ รุ่งเรือง. (2563). การออกแบบที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ และคนพิการด้านการเคลื่อนไหว ตามแนวคิดการออกแบบเพื่อทุกคน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (11), 298-313.
Chrzanowska, O. (2020). Universal Design Principles for Older People and Older People with Disabilities During the COVID-19 Pandemic. Interdisciplinary Contexts of Special Pedagogy. 31, 267-286.
Harsritanto, B.I.R. (2016). A Review of Universal Design on Elderly House Designs Development- Case South Korea. MODUL. 16 (2), 116-120.
Malik, K. & Mikołajczak, E. (2019). Senior Housing Universal Design as a Development Factor of Sustainable-Oriented Economy. Sustainability. 11 (24), 1-12.
Mustaquim, M.M. (2015). A Study of Universal Design in Everyday Life of Elderly Adults. Procedia Computer Science. 67, 57-66.
Nygaard, K.M. (2018). What is Universal Design-Theories, Terms and Trends. Kuala Lumpur : Malaysia.