The relationship between democracy and the rule of law
Keywords:
democracy, rule of law, sovereigntyAbstract
บทความวิชาการนี้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างประชาธิปไตยกับหลักนิติธรรม ประชาธิปไตยตั้งอยู่บนความเชื่อในความสำคัญและศักดิ์ศรีของปัจเจกบุคคล ความเชื่อในความเท่าเทียมกันของมนุษย์และความเชื่อในความต้องการเสรีภาพ หลักนิติธรรม หมายถึง หลักการพื้นฐานของกฎหมาย ส่วนใหญ่ใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมอำนาจรัฐ ให้ประชาชนมีความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพในความเป็นมนุษย์ จุดมุ่งหมาย คือ การสร้างระบบหรือกระบวนการให้รัฐทำเพื่อทุกคน ความสัมพันธ์ระหว่างประชาธิปไตยกับหลักนิติธรรม คือ หลักนิติธรรมเป็นเสาหลักของประชาธิปไตย เปรียบเหมือนเสาสองต้นที่พิงกัน พึ่งพาอาศัยกัน ซึ่งทำให้หลักการทั้งสองมั่นคงและดำรงอยู่เป็นรากฐานของรัฐเสรีนิยมประชาธิปไตย ตราบใดที่เสาทั้งสองอยู่ในดุลยภาพ เสาทั้งสองก็ทำหน้าที่ได้อย่างมั่นคง
References
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ, พระครูวินัยธร. (2561). วัฒนธรรมทางการเมืองกับประชาธิปไตยของไทย. วารสารวิชาการ
แพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม.
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2549). ความคิดการเมืองไพร่กระฎุมพีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : มติชน.
บรรเจิด สิงคะเนต. (2560). ความหมายหลักประชาธิปไตยกับหลักนิติธรรม. ความสัมพันธ์ระหว่างหลัก
ประชาธิปไตยกับหลักนิติธรรม (นิติรัฐ). กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
ปราณพงษ์ ติลภัทร. (2557). ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย : ข้อพิจารณาเบื้องต้น.
รัฐสภาสาร, 62(8), 11-37.
วรทิพย์ มีมาก. (2547). หน้าที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพมหานคร : รำไทยเพรส.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. (2538). ศาลปกครองกับหลักการแบ่งแยกอำนาจ. วารสารกฎหมายปกครอง, 24(3),
-582.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2559). โครงการศึกษาวิจัยกรอบแนวคิดและกรอบ ยุทธศาสตร์ในการ
พัฒนาดัชนีชี้วัดด้านหลักนิติธรรม/นิติรัฐ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง. (2559). หลักนิติธรรมกับสังคมไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย ธนบุรี, 10(21),
-125.
สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย. (มปป). การมีส่วนร่วมของประชาชนกับหลักประชาธิปไตยในสังคมไทย. สืบค้น 28
มีนาคม 2566, จาก https://www.constitutionalcourt.or.th/.
สุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล. (2559). การปกครองระบอบประชาธิปไตยเดินคู่ไปกับหลักนิติธรรม. กรุงเทพมหานคร:
หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 4 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
สำนักวิชาการ. (2565). วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย. สืบค้น 28 มีนาคม 2566, จาก
http://www.parliament.go.th/library.
อมร รักษาสัตย์. (2543). ประชาธิปไตย อุดมการณ์ หลักการ และแบบอย่างการปกครองหลายประเทศ.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือ การมีส่วนร่วมของประชาชนสำหรับนักบริหารท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: จรัญสนิท
วงศ์การพิมพ์.