การรับรู้บทบาท และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอการรับรู้บทบาท และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้บทบาทในการปฏิบัติงาน เป็นการรู้ และเข้าใจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยรับรู้ข้อมูลจากเจ้าหน้าที่สาธารสุขจากแหล่งข้อมูลอื่น เช่น โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และการประกาศของกระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ส่วนแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เป็นแรงผลักดันหรือกระตุ้นให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุน ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจึงควรมีการส่งเสริมการรับรู้บทบาท และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้น
Article Details
References
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2565). สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 อัพเดทรายวัน. [Online]. Available : https://ddc.moph.go.th/. [2565, กรกฎาคม 3].
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ที่ สธ 0705.03/ว68 หนังสือราชการเรื่องขอความร่วมมือรณรงค์ “อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เคาะประตูบ้านต้านโควิด-19”. [Online]. Available : https://www.cdd.go.th. [2565, กรกฎาคม 24].
กระทรวงมหาดไทย. (2563ก). ที่ มท.0211.3/ว1416. หนังสือข้าราชการเรื่องมาตรการเพื่อรองรับผู้เดินทางกลับจากสาธารณรัฐเกาหลี. [Online]. Available : https://www.cdd.go.th. [2565, กรกฎาคม 24].
กระทรวงมหาดไทย. (2563ข). ที่ มท.0211.3/ว1538. หนังสือข้าราชการเรื่องการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019) ในพื้นที่จังหวัด. [Online]. Available : https://www.cdd.go.th. [2565, กรกฎาคม 24].
กระทรวงมหาดไทย. (2563ค). ที่ มท.0211.3/ว1733. หนังสือข้าราชการเรื่องมาตรการป้องกัน ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด19) เข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน. [Online]. Available : https://www.cdd.go.th. [2565, กรกฎาคม 24].
กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ใน ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1). [Online]. Available : http://dmsic.moph.go.th/index/detail/8115. [2565, สิงหาคม 21].
กันยา สุวรรณแสง. (2542). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วี พรินท์.
ปิยากร หวังมหาพร. (2556). พัฒนาการเชิงนโยบายอาสาสมัครไทย : จากความมั่นคงสู่การพัฒนาสังคม.วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 10 (2), 15-26.
ยุทธนา แยบคาย และปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 42 (2), 179-186.
ยุบลวรรณ ตั่นเธียรรัตน์. (2553). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วรินธร แก้วคล้าย. (2549). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ทิพยประกันภัยจำกัด (มหาชน). ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วิชัย ศิริวรวัจน์ชัย. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคโควิด 19 อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร, 4 (2), 63-75.
ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงมหาดไทย. (2564). สถานการณ์ Covid-19 ในประเทศไทย ข้อมูลวันที่ 1 เมษายน 2564-18 สิงหาคม 2564. [Online]. Available : https://www.moiCovid.com/18/08/2021/uncategorized/4635. [2565, สิงหาคม 21].
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2563). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา. [Online]. Available : https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/ situation/
situation-no7-100163.pdf. [2565, สิงหาคม 21].
ศุทธินี สาครวาสี. (2554). แรงจูงในการปฏิบัติงาน ความสามารถของตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิทธิชัย ชูจีน. (2554). แรงจูงใจในการทําหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
สรวุฒิ เอี่ยมนุ้ย. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคโควิด-19 อําเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา ISSN 2773-9007 (Online), 1 (2), 75-90.
เสาวลักษณ์ วินัยธรรม. (2552). บทบาทของเทศบาลนครระยองต่อการแก้ไขปัญหาประชากรแฝง : กรณีศึกษาหญิงอาชีพพิเศษ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เสนาะ ติเยาว์. (2551). หลักการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Cohen, B. J. (1979). Schauem’s outline of Theory and Problems of Introduction to Sociology. New York : McGraw-Hill.