นิทานซินเดอเรลลาของชนกลุ่มน้อยตอนใต้ของจีน

ผู้แต่ง

  • สุภชา ศรีรัตนบัลล์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงลักษณะโครงสร้างของนิทาน แบบเรื่องซินเดอเรลลาของชนกลุ่มน้อยตอนใต้ของจีน และวิเคราะห์เปรียบเทียบ ระหว่างนิทานซินเดอเรลลาของชนกลุ่มน้อยตอนใต้ของจีนกับนิทานซินเดอเรลลา ของไทย ผลการศึกษาวิจัยที่ผ่านมาชี้ให้เห็นว่านิทานแบบเรื่องซินเดอเรลลาของ ชนกลุ่มน้อยตอนใต้ของจีนมีโครงสร้างซับซ้อนที่เกิดจากการผนวกรวมระหว่าง เรื่องเย่เซี่ยนซึ่งเป็นนิทานซินเดอเรลลาสำนวนเก่าแก่ที่สุด กับนิทานแบบเรื่อง เจ้าบ่าวงู จากการเปรียบเทียบพบว่า นิทานซินเดอเรลลาของชนกลุ่มน้อย ตอนใต้ของจีนกับนิทานปลาบู่ทองของไทยมีความคล้ายคลึงกัน โดยมีโครงสร้าง ซับซ้อนเช่นเดียวกัน และมีอนุภาคหลายอย่างคล้ายคลึงกัน สะท้อนถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรมที่ชนกลุ่มน้อยทางตอนใต้ของจีนและชาวไทยมีร่วมกัน

References

ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพฯ : โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

วรปฐมา คำหมู่. “การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่อง นางอุทธรา”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและวรรณกรรมล้านนา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๕.

ศิราพร ณ ถลาง. ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒.

Aarne, Annti, translated and enlarged by Thompson, Stith. The Types of the Folktale: A Classification and Bibliography. Fourth Printing.Helsinki : Academia Scientarum Fennica, 1987.

[德] 艾伯华 (Wolfram Eberhard) 注, 王燕生、周祖生译.《中国民间故事类型》. 修订版. 北京 :商务印书馆,2017 年.

陈国强.《百越民族》. 《科学》, 1985 年, 第 2 期, 第 31-38;78 页.

陈金文.《中越灰姑娘型故事之比较》.《文化遗产》, 2015 年, 第 2 期,第 78-83 页.

[唐] 段成式撰, 曹中孚校点.《酉阳杂俎》. 上海:上海古籍出版社, 2012 年.

郭伟川.《论“百越”与岭南土著民族的历史关系》.《历史文献研究》(总第 31辑),2012 年, 第 16-36页.

金荣华.《中国民间故事类型》(上册). 初版. 台北县新店市:口传文学会,2007 年.

刘晓春.《多民族文化的结晶 - 中国灰姑娘故事研究》. 《民族文学研究》, 1995 年,第 3 期, 第 28-39 页.

农学冠.《骆越文化孕育的灰姑娘故事》. 《广西民族研究》, 1998 年, 第 4 期, 第 29-33 页.

王青.《灰姑娘故事的传输地–兼论中欧民间故事流播中的海上通道》.《民族文学究》, 2006 年, 第 1 期, 第 13-18 页.

赵明龙.《试论骆越族群及其在东南亚的后裔》. 《百色学院学报》, 2016 年,第 29 卷, 第 5 期, 第 33-41 页.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-09-2019

ฉบับ

บท

บทความวิจัย