ยายหอม แห่งเมืองนครปฐม : การวิเคราะห์คุณค่าของตำนานและคติความเชื่อของชุมชน
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์ตำนาน, คติความเชื่อ, ตำนานยายหอม, จังหวัดนครปฐมบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์คุณค่าของตำนานและคติความเชื่อของชุมชนเกี่ยวกับ “ยายหอม” ผู้ซึ่งเป็นสตรีในตำนานท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม เรื่อง พญากง พญาพาน ศึกษาจากงานเขียน งานวิจัยด้านคติชนวิทยา และการสำรวจความคิดเห็นของสมาชิกในชุมชนดอนยายหอม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จากการศึกษาพบว่า ตำนานยายหอม มีคุณค่า 3 ประการ ได้แก่ 1) คุณค่าด้านการอธิบายภูมินามชุมชนและการสร้างถาวรวัตถุ 2) คุณค่าด้านการให้ข้อคิดทางศีลธรรมแก่สังคม 3) คุณค่าด้านการสร้างแนวคิดในการพัฒนาชุมชน สำหรับคติความเชื่อของชุมชนที่มีต่อยายหอม พบว่า คนในชุมชนมีความเชื่อต่อยายหอมใน 2 ลักษณะ คือ 1) ยายหอมเป็นสตรีที่ปรากฏในตำนานท้องถิ่นของจังหวัดนครปฐม 2) เชื่อว่ายายหอมเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน นอกจากนี้ยายหอมได้รับการยกย่องจากชุมชนว่าเป็นแบบอย่างของการเป็นผู้มีจิตใจเมตตากรุณา โอบอ้อมอารี และการทำหน้าที่ในบทบาทของ “แม่” ได้อย่างดีเยี่ยม
Downloads
References
บุญรัตน์ โพธิไพรัตนา. (2547). คติเรื่องแม่ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (2530, 1, ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 104 ตอนที่ 246.
พงษ์อนันต์ สรรพานิช. (2542). ผจญภัญในตำนานพระยาพาน พระยากง. กรุงเทพฯ : บริษัท ไพลิน บุ๊คเน็ต.
พชรพงษ์ พุฒซ้อน. (2561). ศาลเจ้ายายหอมเลี้ยงเป็ดกับตำนานพื้นบ้านที่สร้างโบราณสถาน จังหวัดนครปฐม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.lek-prapai.org
พนมกร นวเสลา. (2561). นครปฐมเมืองท่าแห่งสหพันธรัฐทวารวดี. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.lek-prapai.org
พระมหาบุญชู ภูศรี. (2550). อนันตริยกรรมในจารีตของอีสาน. วารสารลุ่มน้ำโขง. 3(2): 109-122.
มนู วัลยะเพ็ชร์ และคณะ. (2522). การศึกษาทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับชื่อภูมิประเทศของจังหวัดนครปฐม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วรรณกร ชาวนาไร่. (2556). การประเมินการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยววัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ไวพจน์ เพชรสุพรรณ. (2559). เพลงแหล่พระยากง พระยาพาน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.lyric.in.th
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2552). ความสำคัญของตำนานในประวัติศาสตร์ท้องถิ่น :กรณีศึกษาตำนานสิงหนวัติ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.lek-prapai.org
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2550). ตำนานเป็นมายาคติหรือประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.lek-prapai.org
ศิราพร ณ ถลาง. (2557). ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทรชัย ชอบยศ. (2562). ประวัศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อการพัฒนารากฐานท้องถิ่นที่เข้มแข็งและยั่งยืน. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 17(2): 115-138.
สุกัญญา ภัทราชัย. (2525). พญากง พญาพานในเพลงพื้นบ้าน. วารสารเมืองโบราณ. 8(3): 45-47.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2556). พญากง พญาพาน วรรณกรรมอยุธยา ลูกฆ่าพ่อสร้างสถูปล้างกรรม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.sujtwongthes.com
สันติ เล็กสุขุม และคณะ. (2552). ปกิณกศิลปวัฒนธรรม เล่ม 15 จังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: ไซออนมีเดีย.
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐม. (2564). ประวัติวัดดอนยายหอม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.nkppao.go.th.
อรุณศักดิ์ กิ่งมณี. (2564). พระประโทณเจดีย์: มหาเจติยสถานกลางเมืองนครปฐมโบราณ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564. จาก https://www.esso.co.th
อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (2558). ตำนานพญากงพญาพาน ร่องรอยความสัมพันธ์ของชาวเมืองในภูมิภาคตะวันตกของไทย. วารสารไทยคดีศึกษา. 11(1): 219-256.
William R. Bascom. (1954). Four Function of Folklore. The Journal of American Folklore. 67(266): 333-349.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารข่วงผญา” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ