ท่วงทำนองการเขียนและเหตุการณ์สำคัญจากบันทึกพระครูรัตนปัญญาญาณ

Writing Style and Important Events from Phakhru Rattanapanyayan’s Memoirs

ผู้แต่ง

  • สุนทร คำยอด มหาวิทยาลัยแม่โจ้

บทคัดย่อ

       บันทึกของพระครูรัตนปัญญาญาณ เหตุการณ์อยู่ในช่วงรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 7 รวมระยะเวลากว่า 85 ปี ลักษณะของการบันทึกเป็นเอกลักษณ์และเป็นท่วงทำนองเฉพาะ (Styles) สะท้อนความรู้ในการคำนวณปฏิทินของชาวล้านนา ซึ่งมีที่มาจากคัมภีร์สุริยยาตร์ บันทึกฉบับดังกล่าวสามารถแบ่งเหตุการณ์เป็น 5 ลักษณะ ได้แก่ สภาพการเมืองการปกครอง การเสียชีวิตของบุคคลสำคัญ การพระศาสนาในเมืองเชียงใหม่ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และเหตุการณ์เบ็ดเตล็ด บันทึกฉบับดังกล่าวทำให้เข้าใจความเคลื่อนไหวของผู้คนในยุคการเปลี่ยนผ่านอำนาจในการบริหารราชการระหว่างสยามกับเชียงใหม่

       

References

จเด็จ เตชะสาย. (2561). “ท่วงทำนองการเขียนในตำรา จริยศาสตร์ล้านนา”, มนุษยศาสตร์สาร, 19 (1 มกราคม–มิถุนายน 2561), 178-218.

เดเนียล ดี.ดี. แมคกิลวารี. (2544). กึ่งศตวรรษในหมู่คนไทยและคนลาว : อัตชีวประวัติของศาสนาจารย์เดเนียล แมคกิลวารี. กรุงเทพฯ: มติชน.

ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. (บก.). (2529). ข้อตกลงในการปริวรรตอักษรธรรมล้านนาเป็นอักษรไทยกลาง. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี. (2538). เชียงใหม่: ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.

รุ่งอรุณ ทีฆชุณหเถียร. (2549). รายงานการวิจัยเรื่อง ตำรายาพื้นบ้านล้านนา: การศึกษาท่วงทำนองการเขียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุ่งอรุณ ทีฆชุณหเถียร. (2552). วัจนลีลาศาสตร์. เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศรีเลา เกษพรหม. (2561). จดหมายเหตุ. เชียงใหม่: วิทอินดีไซน์.

สรัสวดี อ๋องสกุล. (2560). พินิจหลักฐานประวัติศาสตร์ล้านนา. เชียงใหม่: ศูนย์ล้านนาศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุนทร คำยอด. (2563) “ดุจรัตนาแห่งห้วงปัญญาญาณ : ร้อยเรียงเรื่องราวสืบสาวประวัติพระครูรัตนปัญญาญาณ”. วารสารช่ออินทนิล, 3 (3 มกราคม–ธันวาคม 2563), 56.

Leech, and Short. (1981). Style in Fiction: A Linguistic Introduction to English Fictional Prose. New York: Longman Group.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-06-2022