“ปางหมู” ศิลปกรรมเพื่อชุมชนและผู้ประกอบการในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
“Pang Mu” Art for Local Community and Entrepreneur in Mae Hong Son District
คำสำคัญ:
การออกแบบตัวละคร, การ์ตูนสัญลักษณ์, เปเปอร์มาเช่, การออกแบบผลิตภัณฑ์บทคัดย่อ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีมาตรฐาน และมีคุณภาพให้เป็นที่ยอมรับ สร้างมูลค่าเพิ่ม โดยใช้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการสร้างศักยภาพการแข่งขันในตลาด โครงการศิลปกรรมเพื่อชุมชน และผู้ประกอบการในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้นำองค์ความรู้ในด้านทัศนศิลป์ ศิลปศึกษา และการออกแบบ มาใช้ในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อเป็นการเสริมสร้างรายได้และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน สร้างคุณค่าและมูลค่า โดยคนในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีความภาคภูมิในใจภูมิปัญญา ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ที่ดีงามของตนซึ่งมีความสำคัญ อีกทั้งยังอนุรักษ์ให้คงอยู่นำต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการของท้องถิ่นตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ให้เป็นที่รู้จักและ มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ
References
ธรรศ ศรีรัตนบัลล์. (2564). ความเป็นมาของตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
PowerPoint.
สุมิตรา ศรีวิบูลย์. (2557). การออกแบบอัตลักษณ์ : Corporate Identity. นนทบุรี : เอ บุ๊ค ดิสทริ
บิวชั่น
Depreeuw, E.A. and H. De Neve. (1992). Test anxiety can harm your health: some
conclusions based on a student typology. In D. Forgays, T. Sosnowski and
K. Wrzensniewski (eds), Anxiety, Recent Development in Cognitive, Psychophysiological and Health Research, Washington: Hemisphere, pp.211-228.
Jefkins, F. (1993). Planned Press and Public Relations. 3rd. ed. Great Britain:
Alden Press.
Kline, C. and Blumberg, B. (1999). The Art and Science of Synthetic Character
Design. In: Proceedings of the Symposium on AI and Creativity in
Entertainment and Visual Art (AISB), Edinburgh, Scotland.
Kotler, Philip. (2000). Marketing Management. 10th edition. New Jersey: Prentice-Hall
Inc.
Melewar, T. C. & Jenkins, E. (2002). Defining the corporate identity constructs.
Corporate Reputation Review, 5(1), 76-90
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารข่วงผญา” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ