Composition and Legislative Functions of the 24th National Assembly of Thailand: Unification, Evidence, Information and Assessment-based Opinion

Main Article Content

Pharkphoom Rukhamate
Waranya Wuttiphan

Abstract

     The purpose of this paper is to evaluate the composition and legislative functions performed by the 24th National Assembly of Thailand in the period of August 2011 to April 2013. Evaluation is based on integration of collected data, evidence, and various opinions.It is evident that although selection of National Assembly members is based on constituency-based and proportional representation election, members of the assembly
are come from a limited range of sectors, and some sectors are poorly-represented, particularly women and the disadvantaged. Thus, it is not true representation. For legislative performance, the National Assembly has served its roles in procedures of bill enactment, i.e., introduction, debate, consideration, amendment, and voting. All of these may reflect efficient quantitative performance. However, the essence of several bills did not serve the true interests of the people. Because there was a lack of awareness of public needs and little evaluation of public acceptance, and because underlying problems and public interests were overlooked during each step in the process of bill consideration, public trust and confidence in the assembly diminished. The key to solve this problem and regain public trust and confidence depends solely on realization and
awareness on the part of MPs of both opposition and government parties as well as members of the Senate.

Article Details

How to Cite
rukhamate, pharkphoom ., & wuttiphan, waranya . (2020). Composition and Legislative Functions of the 24th National Assembly of Thailand: Unification, Evidence, Information and Assessment-based Opinion. King Prajadhipok’s Institute Journal, 12(1), 5–22. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244271
Section
Original Articles

References

ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑.

จรัล ดิษฐาอภิชัย. ๒๕๔๐. แนวทางการยกเครื่องรัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

นันทวัฒน์ บรมานันท์ สิทธิประชาชนที่หายไปจากรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๙๐ ในบทบรรณาธิการ รวมกฎหมายมหาชน ประจำวันจันทร์ ที่ ๑๘ พฤศจิกายน – ๑ ธันวาคม ๒๕๕๖. (Online) Available: http://Pub-law.net/publaw/default.aspx

นรนิติ เศรษฐบุตร และ สมคิด เลิศไพฑูรย์. ๒๕๔๖. ประสิทธิผลของรัฐสภาไทย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. ๒๕๕๐. นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์ จำกัด.

สติธร ธนานิธิโชติ. ๒๕๕๖. ตระกูลการเมืองในระบอบประชาธิปไตย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๖.

สถาบันพระปกเกล้า. ๒๕๕๓. มองอดีตและอนาคต วัดระดับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๔ รายงาน จับชีพจรประเทศไทยตัวชี้วัดประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า.

สมบัติ จันทรวงศ์ เอกสารสรุป เรื่อง จอห์น ล็อค กับสิทธิในการปราบรัฐบาลที่เป็นขบถ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๘.

สำนักการประชุม สภาผู้แทนราษฎร, หนังสือสรุปผลงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๔ ปีที่ ๑ สมัยสามัญทั่วไป.

สำนักการประชุม สภาผู้แทนราษฎร, หนังสือสรุปผลงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๔ ปีที่ ๑ สมัยสามัญนิติบัญญัติ.

สำนักการประชุม สภาผู้แทนราษฎร, หนังสือสรุปผลงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๔ ปีที่ ๒ สมัยสามัญทั่วไป.

สำนักการประชุม สภาผู้แทนราษฎร, หนังสือสรุปผลงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๔ ปีที่ ๒ สมัยสามัญนิติบัญญัติและสมัยวิสามัญ.

Burns, Melanie. 2013. The Policy Process Model & Agenda Setting (Online) Available: http://blog.lib.umm.edu/burn0277//pa5012/2013/03/agenda-setting.html

Peter, B. Guy. 2010. American Public Policy: Promise and Performance 2nd ed. New Jersey: Chatham House Publishers.

Vedung, Evert. 2008. Public Policy and Program Evaluation. New Brunswick: NJ: Transaction Publishers

ข้อมูลการจัดเวทีเพื่อระดมสมองความคิดเห็น

วันพุธที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องสุโขทัยธรรมราชา (ห้องอบรมสถาบันพระปกเกล้า) ชั้น ๕ อาคารจอดรถ B ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ อาคาร B ถนนแจ้งวัฒนะกรุงเทพมหานคร วันพุธที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องท้าวทองกีบม้า โรงแรมลพบุรีอินน์ ถนนนารายณ์มหาราช อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

วันอังคารที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องหลานหลวง โรงแรมรอยัลปริ๊นเซส หลานหลวง กรุงเทพมหานคร (เวทีเฉพาะ ส.ส. และ ส.ว.)

วันอังคารที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องภัชรี โรงแรมวัฒนา พาร์ค ถนนห้วยยอด อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

วันศุกร์ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องโกลเดนทีค โรงแรมเวียงอินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

วันจันทร์ที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องราชพฤกษ์ โรงแรมลายทอง ถนนพิชิตรังสรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

วันอังคารที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องมรกต โรงแรมพลอยพาเลซ ถนนพิทักษ์

พนมเขต อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

วันพุธที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องสวรรคโลก โรงแรมไพลินสุโขทัย ถนนจรดวิถีถ่อง

อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย