80 ปี การปฏิวัติสยาม 2475: ย้อนพินิจพรมแดนความรู้การปฏิวัติสยาม 2475 (อีกครั้ง)

Main Article Content

Sarawudhi Wisaprom

Abstract

      บทความนี้เป็นการสารวจพรมแดน/สถานะความรู้ (state of knowledge) เกี่ยวกับการปฏิวัติสยาม/การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการปฏิวัติสยาม 2475 ได้กลับมาเป็นที่สนใจอย่างแพร่หลายในแวดวงวิชาการและในสังคมไทยอีกครั้ง นับตั้งแต่หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 เป็นต้นมา ดังนั้นจึงควรมีการทบทวนพรมแดน/สถานะความรู้ “ความรู้” เกี่ยวกับการปฏิวัติสยาม 2475 ว่ามีคาอธิบายอย่างไร และยังขาดการอธิบายเรื่องใด เพื่อนาไปสู่การศึกษาเพิ่มเติมต่อไป โดยเนื้อหาในบทความแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรก เป็นการสารวจนี้ได้แบ่งกลุ่มงานออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ หนึ่งกลุ่มงานเขียนที่เน้นความเปลี่ยนแปลงในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ส่งผลให้เกิดการล่มสลายของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และสอง งานวิชาการที่ศึกษาการปฏิวัติสยาม 2475 ทั้งในแง่ กระบวนการ เหตุการณ์ และผลกระทบ และส่วนหลังเป็นการทบทวนพัฒนาการการรับรู้อดีตของการปฏิวัติสยาม 2475 ตลอด 80 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีความสัมพันธ์กับงานเขียนที่สารวจไว้ในส่วนแรกอย่าง แนบชิด

Article Details

How to Cite
wisaprom, sarawudhi . (2020). 80 ปี การปฏิวัติสยาม 2475: ย้อนพินิจพรมแดนความรู้การปฏิวัติสยาม 2475 (อีกครั้ง). King Prajadhipok’s Institute Journal, 11(1), 5–37. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244353
Section
Original Articles

References

กัปค์ฤทัย ปุงคานนท์. “การปลูกฝังอุดมการณ์ประชาธิปไตย ศึกษาผ่านหนังสือเรียนสังคมศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ การเมือง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.

เก่งกิจ กิตติเรียงลาภ. “สถานะของวิวาทะว่าด้วยการเปลี่ยนรูปของรัฐไทยภายหลัง 2475” จุลสาร จดหมายเหตุธรรมศาสตร์.16 (มิถุนายน 2555-พฤษภาคม 2556), หน้า 11 - 37.

จิรวัฒน์ แสงทอง. “ชีวิตประจาวันของชาวสยามในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2426-2475” วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และคณะ.ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคม.กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์, 2527.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา.การเป็นสมัยใหม่กับแนวคิดชุมชน.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สร้างสรรค์, 2553.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. แผนพัฒนาการเมืองฉบับแรกของไทย: คากราบบังคมทูลของเจ้านายและ ข้าราชการให้เปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.ศ. 103. พระนคร :โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ , 2513.

ชัยอนันต์ สมุทวนิช.การเมือง-การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทย 2411-2475.กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2523.

ชัยอนันต์ สมุทวนิช. “ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475”ใน วารสารธรรมศาสตร์. 11,2 (มิถุนายน 2526) , หน้า 54-61.

ชัยอนันต์ สมุทวนิช.100 ปี แห่งการปฏิรูประบบราชการ : วิวัฒนาการของอานาจรัฐและอานาจ การเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา, 2541.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช และขัตติยา กรรณสูต. เอกสารการเมือง-การปกครองของไทย พ.ศ. 2417-2477. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2518.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และธารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. ปฏิวัติ 2475.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการ ตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552.

ชาตรี ประกิตนนทการ. การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรม สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม. กรุงเทพฯ : มติชน, 2547.

ชาตรี ประกิตนนทการ. คณะราษฎรฉลองรัฐธรรมนูญ : ประวัติศาสตร์การเมืองหลัง 2475 ผ่าน สถาปัตยกรรม “อานาจ”. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548.

ชาตรี ประกิตนนทการ. ศิลปะ-สถาปัตยกรรมคณะราษฎร : สัญลักษณ์ทางการเมืองในเชิง อุดมการณ์. กรุงเทพฯ : มติชน, 2552.

ชาติชาย พณานานนท์. “การเปลี่ยนแปลงการปกครองไทย พ.ศ. 2475” ใน การปฏิวัติครั้งสาคัญของ โลก. วุฒิชัย มูลศิลป์ และโกวิท วงศ์สุรวัฒน์ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศ ไทย, 2526.

ณัฐพล ใจจริง. “การรื้อสร้าง ๒๔๗๕" : ฝันจริงของนักอุดมคติ ‘น้าเงินแท้’” ใน ศิลปวัฒนธรรม. 27,2 (ธันวาคม 2548), หน้า 78-117.

ณัฐพล ใจจริง. “ภูมิทัศน์ของ ‘การปฏิวัติ’ ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย” ปาฐกถาจาลอง ดาวเรือง ณ วิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันที่ 22 มิถุนายน 2554 [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.copag.msu.ac.th/copag/index.php?option=com_content&view=article&id=72 (24 มิถุนายน 2555)

แถมสุข นุ่มนนท์. “ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475” ใน การเมืองและ การต่างประเทศในประวัติศาสตร์ไทย.กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2524.

แถมสุข นุ่มนนท์. ละครการเมือง : 24 มิถุนายน 2475. กรุงเทพฯ : สมาคมประวัติศาสตร์, 2535.

ทรงชัย ณ ยะลา. เศรษฐศาสตร์การเมือง (ภาคพิสดาร) ตอนที่หนึ่ง “วิวาทะว่าด้วยสังคมกึ่งเมืองขึ้น- กึ่งศักดิ นาของไทย”พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : น้าหยาด, 2524.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม : ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ใน สังคมไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

ธนาพล อิ๋วสกุล “70 ปี 24 มิถุนา : ความหลงลืมทางประวัติศาสตร์” กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 24 มิถุนายน 2545.

ธวัชชัย จิตระวัง. “แบบเรียน ‘หน้าที่พลเมืองและจริยธรรม’ ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษากับการ กล่อมเกลาทางสังคม ระหว่างปี พ.ศ. 2475-2521” วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2543.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ของสยาม : พรมแดนแห่งความรู้. กรุงเทพฯ :สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2525.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์.“ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาของการเปลี่ยนระบอบการปกครองสยามระหว่าง พ.ศ. 2470-2480” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. “พลังของแนวคิดชาติ-ชาตินิยมกับการเมืองไทยในสมัยแรกเริ่มของรัฐประชาชาติ” ใน รัฐศาสตร์สาร. 21, 3 (2542) , หน้า 1 – 104.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์.ความคิด ความรู้และอานาจการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ฟ้าเดียวกัน, 2546.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์.กรณี ร.7 ทรงสละราชสมบัติ : การตีความและการสานต่อความหมายทาง การเมือง. กรุงเทพฯ : คบไฟ, 2549.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475.พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับแก้ไขและปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ฟ้าเดียวกัน, 2553.

นิธิ เอียวศรีวงศ์.ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย์ : ว่าด้วยวัฒนธรรม, รัฐ และรูปการ จินตนาการ. กรุงเทพฯ : มติชน, 2538

นิธิ เอียวศรีวงศ์. ประวัติศาสตร์แห่งชาติ “ซ่อม”ฉบับเก่า “สร้าง”ฉบับใหม่.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: กองทุนเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ, 2551.

บัทสัน, เบนจามิน เอ. อวสานสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสยาม.กาญจนี ละอองศรี และยุพา ชุมจันทร์ (บรรณาธิการแปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2543.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. “24 มิถุนาฯ ในขบวนการ 14 ตุลาฯ: การเมืองและอานาจของประวัติศาสตร์” วารสาร สถาบันพระปกเกล้า. 2,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2547), หน้า 47-75.

ปวีณา วังมี. “รัฐไทยกับการกล่อมเกลาทางการเมืองผ่านแบบเรียนในช่วง พ.ศ.2475-2487” วิทยานิพนธ์ ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543.

ปรีดี พนมยงค์. ความเป็นอนิจจังของสังคม.พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นีติเวชช์, 2513.

มาลินี คุ้มสุภา. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยกับความหมายที่มองไม่เห็น. กรุงเทพฯ : วิภาษา, 2548.

ยาตาเบ, ยาสุกิจิ. บันทึกของทูตญี่ปุ่นผู้เห็นเหตุการณ์ปฏิวัติ 2475 : การปฏิวัติและการ เปลี่ยนแปลงในประเทศสยาม. แปลโดย เออิจิ มูราซิม่า, นครินทร์ เมฆไตรรัตน์.. กรุงเทพฯ : มติชน, 2550.

ระลึก ธานี. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษาภาคบังคับของไทย : พ.ศ.2475-2503. กรุงเทพฯ : ไทย วัฒนาพานิช, 2527.

รังสิมา โฆสิตังกูร. “แนวความคิดเรื่องหน้าที่พลเมืองในแบบเรียนประถมศึกษา (พ.ศ. 2435-2533)” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.

ลักขณา ปันวิชัย. “อุดมการณ์รัฐของรัฐไทยในแบบเรียนชั้นประถมศึกษา พ.ศ. 2464-2533 ; ไม่มี ‘ชาติของ ประชาชนไทย’ ในแบบเรียน” ใน รัฐศาสตร์สาร. 21,3 (2542) , หน้า 105 – 173 วรเจตน์ ภาคีรัตน์. “การปฏิวัติสยาม 2475 (ชั่วคราว) ? : พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์และอานาจ ตุลาการหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง” ฟ้าเดียวกัน. 8, 2 (ตุลาคม - ธันวาคม 2553),หน้า 69 -77.

วารีรัตน์ ผาสุก. “การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช 2475 ถึงพุทธศักราช 2488” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (ประถมศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.

วิจิตรวาทการ,หลวง. การเมืองการปกครองของกรุงสยาม. พระนคร : โรงพิมพ์ไทยใหม่, 2475.

ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา. ชีวิต แนวคิด และการต่อสู้ของ "นรินทร์กลึง" หรือ นรินทร์ ภาษิต คน ขวางโลก.พิมพ์ครั้งที่ 3 (แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : มติชน, 2541.

ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์. แรงงานวิจารณ์เจ้า : ประวัติศาสตร์ราษฏรผู้หาญกล้า ท้าสมบูรณาญาสิทธิ์ ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงใหม่).กรุงเทพฯ : มติชน, 2547.

สนธิ เตชานันท์ (รวบรวม). แผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบ "ประชาธิปไตย" ตามแนว พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2469-2475). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2545.

สมเกียรติ วันทะนะ. “เมืองไทยยุคใหม่ : สัมพันธภาพระหว่างรัฐกับประวัติศาสตร์สานึก” ใน อยู่เมืองไทย : รวมบทความทางสังคมการเมือง เพื่อเป็นเกียรติแด่ ศาสตราจารย์ เสน่ห์ จามริก ใน โอกาสอายุครบ 60 ปี. สมบัติ จันทรวงศ์ และชัยวัฒน์สถาอานันท์ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2530.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง : รวมบทความเกี่ยวกับกรณี 14 ตุลา และ 6 ตุลา. กรุงเทพฯ : 6 ตุลาราลึก, 2544.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “บันทึกของ เคนเน็ธ แลนดอน เกี่ยวกับกรณีสวรรคตและข่าวลือเองแผนการใหญ่ ของพี่น้องปราโมช”. ใน ฟ้าเดียวกัน. 7,3 (กรกฎาคม-กันยายน 2552) , หน้า 74-83.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “24 มิถุนา: การตีความ 4 แบบ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.thaingo.org/writer/view.phpid=803 (24 มิถุนายน 2555)

สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย. เบื้องแรกประชาธิปตัย : บันทึกความทรงจาของผู้อยู่ในเหตุการณ์ สมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ : สมาคมฯ, 2516.

สุธี ประศาสน์เศรษฐ. “ทุนนิยมโดยรัฐในประเทศไทย ค.ศ. 1932-1959” ใน วิวัฒนาการทุนนิยมไทย. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา(บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : ฝ่ายวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2523.

สุนทรี อาสะไวย์. “ภาวะเศรษฐกิจตกต่าครั้งใหญ่และผลกระทบที่มีต่อชาวนาสยามในทศวรรษ 2470” ใน วารสารธรรมศาสตร์.11, 3 (กันยายน 2536) , หน้า 71-110.

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. “ความจาเป็นทางประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหว 24 มิถุนายน 2475” ใน วารสาร ธรรมศาสตร์. 11,2 (มิถุนายน 2526) ,หน้า 62-68.

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์.การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นาไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 4 - พ.ศ. 2475. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.

อรัญ พรหมชมพู [นามแฝง]. ไทยกึ่งเมืองขึ้น. กรุงเทพฯ : อุดมธรรม, 2493.

อัจฉราพร กมุทพิสมัย.ปัญหาภายในสังคมไทยก่อนการปฏิวัติ 2475 : ภาพสะท้อนจากงานเขียนทาง หนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2532.

แอนเดอร์สัน, เบเนดิคท์ อาร์. โอ จี. “ศึกษารัฐไทย: วิพากษ์ไทยศึกษา”.ใน ฟ้าเดียวกัน. 1:3 (กรกฎาคม- กันยายน,2546), หน้า 88-139.

Barmé,Scott Woman, Man, Bangkok: Love, Sex, and Popular culture in Thailand Lanham: Rowman & Littlefield, 2002.

Batson, Benjamin A. (compiled and edited). Siam’s political future : documents from the end of the absolute monarchy. New York : Department of Asian Studies Cornell University, 1974.

Chaiyan Rajchagool.The Rise and fall of the Thai absolute monarchy : foundations of the modern Thai state from feudalism to peripheral capitalism. Bangkok : White Lotus, 1994.

Copeland, Matthew. “Contested Nationalism and the 1932 Overthrow of the Absolute Monarchy in Siam” Ph.D. Dissertation, Australian National University, 1993.

Hewison, Kevin. Bankers and bureaucrats : capital and the role of the state in Thailand. New Haven, Conn. : Yale University Southeast Asia Studies, Yale Center for International and Area Studies, 1989.

Kullada Kesboonchoo Mead. The Rise and decline of Thai absolutism.London ; New York : Routledge Curzon, 2004.

Landon, Kenneth P. Siam in transition : a brief survey of cultural trends in the five years since the revolution of 1932. New York : Greenwood Press, 1939.

Nakharin Mektrairat. “A Cultural Explanation of the 1932 Political Change in Siam : Power of Narration and National Identity in Thai Politics” Ph.D Thesis Submitted to the Graduate School of Asia -Pacific Studies, Waseda University , 2004.

Riggs, Fred W.Thailand: The Modernization of a Bureaucratic Polity. Honolulu, Hawaii: East- West Center Press, 1966.

Suehiro, Akira. Capital Accumulation in Thailand 1855-1985 .Tokyo: Centre for East Asian Cultural Studies, 1989.

Sungsidh Piriyarangsan. Thai bureaucratic capitalism, 1932-1960. Bangkok : Social Research Institute, Chulalongkorn University, 1983.

Suthy Prasartset. State Capitalism in the Development Process, Thailand 1932-1959. Tokyo : Institute of Developing Economies, 1979.

Thawatt Mokarapong. History of the Thai revolution : a study in political behavior. Bangkok : Watana Panich, 1972.