ลักษณะบางประการเกี่ยวกับกฎหมายนิรโทษกรรมในประเทศไทย

Main Article Content

Nawat Sripathar

Abstract

     การนิรโทษกรรมคือการที่กฎหมายกาหนดให้ลืมการกระทาเพื่อลบล้างความผิดแก่ผู้กระทาผิดในบางสถานการณ์ โดยถือการกระทาดังกล่าวไม่เป็นความผิด และโทษซึ่งเป็นผลสาหรับการนั้นไม่ถูกนามาบังคับใช้


     การนิรโทษกรรมในประเทศไทยเกิดขึ้นหลายครั้ง ในหลายหลายสาเหตุความผิด ทั้งจากความวุ่นวายทางการเมือง การปฏิวัติรัฐประหาร และเป็นมาตรการของรัฐที่จะเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม ผลของการนิรโทษกรรมนั้นมีอย่างหลากหลาย กระบวนการและเนื้อหาของการนิรโทษกรรมก็มีการปรับปรุงรูปแบบจากการทาเป็นพระราชบัญญัติมากาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ


     แม้โดยลักษณะของการนิรโทษกรรมนั้นเอง อาจกล่าวได้ว่ามิใช่สิ่งที่เกิดขึ้นในระบบกฎหมายปกติ แต่การนิรโทษกรรมในประเทศไทยก็เป็นทางเลือกที่ได้รับการพิจารณากระบวนการแรกๆในการใช้แก้ไขปัญหาทางการเมืองการปกครองและการดาเนินนโยบายบางประการของรัฐบาลหรือผู้มีอานาจทางการเมืองในขณะนั้นอยู่เสมอมา

Article Details

How to Cite
sripathar ื. . (2020). ลักษณะบางประการเกี่ยวกับกฎหมายนิรโทษกรรมในประเทศไทย. King Prajadhipok’s Institute Journal, 11(1), 57–91. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244357
Section
Original Articles

References

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, “หลักนิติธรรมกับการตรากฎหมายนิรโทษกรรม”, คาให้สัมภาษณ์ใน จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 (พ.ย.-ธ.ค.2552) หน้า 1-15.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ,กฎหมายมหาชน เล่ม 2 การแบ่งแยกกฎหมายมหาชน-เอกชน และพัฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย,พิมพ์ครั้งที่ 3 ,กรุงเทพ:วิญญูชน, 2547.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชนเล่ม3 : ที่มาและนิติวิธี (กรุงเทพ: นิติธรรม) 2538.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, คาอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ: สานักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2553.

ประภาศน์ อวยชัย, “พระราชทานอภัยโทษ” ใน รวมบทความทางวิชาการ เนื่องในโอกาสครบรอบ 84 ปี ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์,กรุงเทพฯ : มูลนิธินิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2534, หน้า 57.

ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช, “วิพากษ์มาตรา 309 กฎหมายนิรโทษกรรม” ใน http://www.prachatai.com/journal/2007/08/13760

มานิตย์ จุมปา “หลักกฎหมายรัฐธรมนูญ (พ.ศ.2555)” , เอกสารประกอบการเรียน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี http://www.law.sru.ac.th/index.php/component/docman/doc_download/10

วรเจตน์ ภาคีรัตน์, กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง,วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า จัดพิมพ์, กรุงเทพ: เอ พี กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ ,พิมพ์ครั้งที่ 2, 2554.

สมคิด เลิศไพฑูรย์ ,“มาตรา 309 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทศักราช 2550” ใน รวมบทความวิชาการ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ของ ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ , กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เดือนตุลา, 2554, หน้า 80-99

สราวุธ เบญจกุล,”ควรใช้กฎหมายนิรโทษกรรมเท่าที่มีเหตุจาเป็น”, ใน http://www.oknation.net/blog/print.php?id=321405

สุกิจ สัมฤทธิ์ผ่อง, “กฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรม”, http://web.krisdika.go.th/data/activity/act175.pdf

สุรพล คงลาภ , “ลักษณะของกฎหมายนิรโทษกรรมในประเทศไทย” ,วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 3,หน้า 418.

สำนักงานข้าราชการพลเรือน,“หลักการของพระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมพรรษา 80 พรรษา พ.ศ.2550 (ในส่วนที่เกี่ยวกับวินัยและการออกจากราชการ” , http://www.ocsc.go.th/ocsccms/uploads/File/ocsc%5B1%5D...pdf

Law222,”ลบล้างมลทินโทษ”, http://www.oknation.net/blog/print.php?id=111259

“การนิรโทษกรรมกับสังคมไทย”http://ilaw.or.th/node/562